ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร่างแหเอนโดพลาซึม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
UnderworldCapital (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Clara cell lung - TEM.jpg|thumb|300px|ภาพกล้องจุลทรรศน์ของเครือข่ายร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระรอบ[[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]] (แสดงอยู่ฝั่งขวาล่างของภาพ) วงกลมดำเล็กในเครือข่าย คือ [[ไมโทคอนเดรีย]]]]
'''ร่างแหเอนโดพลาซึม''' หรือ '''เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวคูลัม''' ({{lang-en|endoplasmic reticulum, ER}}) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]ชนิดหนึ่งของ[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]สิ่งมีชีวิต[[ยูแคริโอต]]ซึ่งก่อเครือข่ายถุงหรือท่อแบนมีเยื่อหุ้มติดต่อระหว่างกัน เรียก ซิสเทอร์นี (cisternae) เยื่อของ ER ต่อเนื่องกับเยื่อชั้นนอกของ[[เยื่อหุ้มนิวเคลียส]] ร่างแหเอนโดพลาซึมเกิดในเซลล์ยูแคริโอตส่วนใหญ่ รวมถึง[[จีอาเดีย]]ที่เก่าแก่สุด แต่ไม่พบใน[[เม็ดเลือดแดง]]และตัวอสุจิ มีร่างแหเอนโดพลาซึมสองชนิด คือ ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระ (RER) และร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบ (SER) ผิวนอก (ไซโทโซลิก) ของร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระมี[[ไรโบโซม]]อยู่กระจายซึ่งเป็นแหล่งสังเคราะห์[[โปรตีน]] ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระโดดเด่นเป็นพิเศษในเซลล์อย่าง[[เซลล์ตับ]]ซึ่งร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบกัมมันต์ไม่มีไรโบซึมและทำหน้าที่ใน[[เมแทบอลิซึม]][[ลิพิด]] เมแทบอลิซึม[[คาร์โบไฮเดรต]] และการขจัดพิษ และพบมากเป็นพิเศษใน[[ตับ]]และเซลล์[[ต่อมบ่งเพศ]]ของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]
 
== ชนิด ==