ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tunyarat.meeparted (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Savesetthawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 46:
 
== สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ==
[[หมวดหมู่:สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]
#1. ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ (บางชนิด)
#2. อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดในสุญญากาศเท่ากับ 299,792,458 เมตร3x108m/วินาทีs ซึ่งเท่ากับ อัตราเร็วของแสง
#3. เป็นคลื่นตามขวาง
#4. ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
#5. ถูกปล่อยออกมาและถูกดูดกลืนได้โดยสสาร
#6. ไม่มีประจุไฟฟ้า
#7. คลื่นสามารถแทรกสอด สะท้อน หักเห และเลี้ยวเบนได้
<ref>https://sites.google.com/site/funnyofphisic/khlunmaehelkfifa</ref>==สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า==
# คลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ
1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation)
ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz( กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุเรียกว่า "คลื่นพาหะ" โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง
ในการส่งคลื่นระบบ A.M. สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงขนานกับผิวโลกและค ลื่นฟ้าโดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศตั้งสูงรับ
1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation)
ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะ โดยความถี่ของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง
ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ
 
2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ
คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟมีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz มีประโยชน์ในการสื่อสาร แต่จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่านชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะ ๆ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้นสัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนำสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้ดาวเทียมนำสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ
เนื่องจากไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งของอากาศยาน เรียกอุปกรณ์ดังกล่าวว่า เรดาร์ โดยส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำให้ทราบระยะห่างระหว่างอากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้
 
==ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์==
3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays)
สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าขึ้นรอบ ๆ และสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำ ให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบ ๆ โดยการเหนี่ยวนำจะเกิดอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออก
รังสีอินฟาเรดมีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรดสามารถใช้กับฟิล์มถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุมระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับโทรทัศน์ได้
ไปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เรียงลำดับจากความถี่ต่ำสุดไปสูงสุด ได้ดังนี้
2. คลื่นวิทยุ,คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ,รังสีอินฟาเรด
 
==คุณสมบัติ==
4. แสง (light)
1. คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร
แสงมีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับได้
1.1 ระบบ A.M ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า ( สะท้อนได้ดีท
 
ี่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์)
5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)
1.2 ระบบ F.M ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน
รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำให้เกิดประจุอิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต
2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ สะท้อนจากผิวโลหะได้ดีในการส่งสัญญาณอาศัยสถานีถ่ายทอดหรือใช้ดาวเทียม และใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตำแหน่งวัตถุที่เรียกว่า " เรดาร์"
 
3. รังสีอินฟาเรด มนุษย์รับรู้ในรูปความร้อน( ทางผิวหนัง) ใช้ในรีโมทคอนโทล
6. รังสีเอกซ์ (X-rays)รังสีเอกซ์ มีความถี่ช่วง 1016 - 1022 Hz มีความยาวคลื่นระหว่าง 10-8 - 10-13 เมตร ซึ่งสามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนาๆ ได้หลักการสร้างรังสีเอกซ์คือ การเปลี่ยนความเร็วของอิเล็กตรอน มีประโยชน์ทางการแพทย์ในการตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย
4. แสง เกิดจากแหล่งที่มีความร้อนสูงสามารถมองเห็น
 
5. รังสีอุลตราไวโอเลต เมื่อกระทบกับสารเรืองแสงจะให้แสงที่มองเห็นได้เมื่อกระทบบรรยากาศโลก
7. รังสีแกมมา (Gamma-rays)
6. รังสีเอกซ์ เกิดจากการปลดปล่อยพลังงานของอิเล็กตรอน
รังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์และสามารถกระตุ้นปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้
7. รังสีแกมมา เกิดจากการสลายตัวทางนิวเคลียสมีความถี่สูงกว่ารังสีเอก
[[หมวดหมู่:คลื่น]]
[[หมวดหมู่:การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]
{{โครง}}