ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรมยุติกนิกายในประเทศกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Raphind (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16:
ในปี [[พ.ศ.2398]] สมเด็จพระหริรักษรามา (พระองค์ด้วง) ขอพระราชทานธรรมยุตินิกายเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาธรรมยุตินิกายในกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้พระมหาปานพร้อมด้วย พระอมราภิรักขิต (เกิด) และพระสงฆ์ 8 รูป อุบาสก 4 คน เดินทางไปสืบศาสนายังกรุงกัมพูชา
 
สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี ทรงนิมนต์พระมหาปานให้จำพรรษาอยู่ที่วัดศาลาคู่ (วัดอ์พิลปี) กรุงอุดงค์มีชัย พระมหาปาน ได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระอริยวงศ์ พระวิมลธรรม พระมหาวิมลธรรม ตามลำดับ ภายเป็นหลังภายหลังเป็นสมเด็จพระสุคนธาธิบดี<ref>ชุชุมฺ เงือน,อํพีพฺระราชปฺรไพณีพฺระมหากฺสตฺร นิง สมฺเฎจพฺระสงฺฆราช, หน้า 121 </ref>
 
[[สมเด็จพระสุคนธาธิบดี (ปาน)]] เป็นกวีและปราชญ์ในราชสำนักสมเด็จพระหริรักษรามาธิศราธิบดี กับสมเด็จพระนโรดม ผลงานนิพนธ์ของท่านหลายเรื่องตกทอดมาถึงปัจจุบัน เช่น รบากษัตริย์ (พระราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา) ที่แต่งร่วมกับออกญาสุนธรโวหาร (มุก) และลเบิกอังกอร์วัดแบบเก่า (เลฺบีกองฺครวตฺตแบบจาส่) <ref>ฆีง หุก ฑี, เลฺบีกองฺครวตฺต (Paris: Association Culturelle “Pierres d’ Angkor”,