ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘Praman Adirecsan2\.jpg’ ด้วย ‘Praman Adirecsan.jpg’
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 52:
สืบเนื่องจากการที่ ส.ส. และ[[วุฒิสภาไทย|สมาชิกวุฒิสภา]] (ส.ว.) ฝ่ายที่ทาง[[กองทัพไทย|กองทัพ]]สนับสนุนมีความขัดแย้งกันกรณีการแก้ไข[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญ]] ฉบับ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521]] เพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้งแบบรวมเขต รวมเบอร์
 
ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า [[พรรคกิจสังคมชาติไทย]] ที่มี [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์พลตรีประมาณ ปราโมชอดิเรกสาร]] เป็นหัวหน้าพรรค ได้รับเลือกมาเป็นลำดับที่หนึ่ง โดยได้ที่นั่งไปทั้งสิ้น 102110 ที่นั่ง รองลงไปคือ [[พรรคชาติไทยกิจสังคม]] ที่มี พลตำรวจเอก [[ประมาณหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ อดิเรกสารปราโมช]] เป็นหัวหน้าพรรคได้ 8099 ที่นั่ง และ[[พรรคประชาธิปัตย์]] ที่มี นาย[[พิชัย รัตตกุล]] เป็นหัวหน้าพรรค ได้ 56 ที่นั่ง ซึ่งไม่มีพรรคใดได้เสียงเกินครึ่งหนึ่งของ[[สภาผู้แทนราษฎร]] ที่มีทั้งหมด 324 เสียง ซึ่งผลการจัดตั้งรัฐบาล ปรากฏว่า พรรคกิจสังคม, พรรคประชาธิปัตย์ และ[[พรรคประชากรไทย]]ตกลงกันที่จะสนับสนุน พล.อ.เปรม เป็นนายกรัฐมนตรีต่อ ขณะที่พรรคชาติไทย รวมกันกับ[[พรรคการเมือง]]อื่น ๆ เป็น[[ฝ่ายค้าน]]
<ref>[http://www.democrat.or.th/th/about/history/ ประวัติพรรคประชาธิปัตย์]</ref>
ต่อมา พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นับเป็นสมัยที่ 2 ในวันที่ [[30 เมษายน]] ปีเดียวกัน การจัดตั้ง[[คณะรัฐมนตรี]] คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรีต่าง ๆ 44 คน นับเป็น[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43|คณะรัฐมนตรีคณะที่ 43]] และได้เข้าทำการปฏิญาณตนหน้าพระพักตร์เพื่อเข้ารับตำแหน่งในวันที่ [[9 พฤษภาคม]] ปีเดียวกัน<ref>ยุบสภา ประกาศเลือกตั้งเร็วที่สุด ''การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ 3 พรรคการเมืองร่วมมือตั้งรับฐาล พล.อ.เปรมถูกเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรีอีกสมัยหนึ่ง'' หน้า 185, ''กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554'' โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] ISBN 978-974-228-070-3 </ref>