ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ณ บางช้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ant588 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สกุล ณ บางช้าง''' เป็นราชสกุลหนึ่งแห่งราชวงศ์สุโขทัยแห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] [[ราชวงศ์พระร่วง]] (ราชวงศ์สุโขทัย) แห่ง[[อาณาจักรสุโขทัย]] ราชวงศ์สิงหนวัติแห่งแคว้นโยนกเชียงแสน และราชวงศ์หารยังกะแห่งแคว้นมคธในอินเดียโบราณ และเป็นราชินิกุลแห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] ที่เป็นวงศ์หนึ่งในราชินิกุลบางช้าง ซึ่งเป็นพระญาติวงศ์ใน[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] พระบรมราชินีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
นอกจากนั้นสกุล ณ บางช้าง ยังเป็นราชินิกุลแห่งราชวงศ์จักรี ที่เป็นวงศ์หนึ่งในราชินิกุลบางช้างซึ่งมี 5 สกุล ได้แก่ [[ชูโต]] [[แสงชูโต]] [[สวัสดิชูโต]] [[บุนนาค]] และ ณ บางช้าง เจ้าทองและเจ้าสั้นทรงเป็นพระชนกและพระชนนีตามลำดับในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ทรงสืบเชื้อสายโดยนับทางบิดาตลอด จากเจ้าแสนและเจ้าพลายตามลำดับ และทรงมีพระโอรสพระธิดา (สำหรับผู้โต้แย้ง จุดนี้ที่จริงจะกล่าวว่ามีบุตร (ลูก) แต่กรณีนี้ เราไม่ใช้คำว่าพระบุตร) 10 องค์
 
สกุล ณ บางช้าง เป็นหนึ่งในสกุลที่สามารถนับรุ่นได้มากที่สุดของประเทศไทย ปัจจุบันสกุลนี้สามารถนับได้อย่างน้อย 23 รุ่น ให้ < แทน "เป็นพระชนกใน" หรือ "เป็นบิดาของ" จะได้ว่าพระเจ้าพังคราช < พระเจ้าพรหมมหาราช < พ่อขุนศรีนาวนำถุม < พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ < พ่อขุนรามคำแหงมหาราช < พระมหาธรรมราชา (ลือไทย) < พระมหาธรรมราชาธิราช (เลอไทย) < สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช (ขุนพิเรนทรเทพ) < สมเด็จพระเอกาทศรถ < เจ้าแสน < เจ้าบุญสา < เจ้านพ < พระยาสมุทรสงคราม < พระยาอุไทยธรรม (คุณชายกลาง) < พระยามหิศรราชสัมพันธ์ฯ (กุญ) < คุณ หงิม ณ บางช้าง < คุณ แจ่ม ณ บางช้าง < คุณ สอาด ณ บางช้าง < ศ.ดร.นพ. เอิบ ณ บางช้าง และให้ << เป็นบรรพบุรุษโดยนับทางบิดาตลอด จะได้ว่ากษัตริย์ราชวงศ์หารยังกะแห่งแคว้นมคธในอินเดียโบราณพระองค์หนึ่ง < พระเจ้าสิงหนวัติ << พระเจ้าพังคราช ดังนั้นเท่าที่แสดง ปัจจุบันสกุล ณ บางช้าง สามารถนับได้อย่างน้อย 21 รุ่น
 
ในปี พ.ศ. 2173 เจ้าพลายและเจ้าแสน ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์ที่หนึ่งและพระราชโอรสองค์ที่สองตามลำดับในสมเด็จพระเอกาทศรถ (องค์ขาว) ซึ่งเป็นพระอนุชาพระองค์เดียวที่เราทราบในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (องค์ดำ) ซึ่งไม่มีพระราชโอรส ได้หนีราชภัยมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่แขวงบางช้าง เมือง[[ราชบุรี]] (ในปัจจุบันแขวงดังกล่าวคือ[[จังหวัดสมุทรสงคราม]] ในอดีตแขวงดังกล่าวมีศูนย์กลางอยู่ที่ตำบลบางช้างในปัจจุบัน ของ[[อำเภออัมพวา]]ในปัจจุบัน ของ[[จังหวัดสมุทรสงคราม]]ในปัจจุบัน) เนื่องจากเป็นเจ้า จึงมีบ่าวไพร่มากและมีทรัพย์สินมาก จึงค้าขายทางเรืออยู่ที่แขวงบางช้าง มีฐานะร่ำรวยมาก ชาวเมืองจึงยกย่องเรียกตระกูลของเจ้าพลายและเจ้าแสนว่าตระกูลเศรษฐีบางช้าง
 
ตระกูลเศรษฐีบางช้างมักจะถือตัว ถือยศ และหวงสายเลือดของพวกตน แบบผู้ที่เกิดใน[[วรรณะกษัตริย์]] เหมือนต้นตระกูล[[ศากยวงศ์]]ของ[[พระพุทธเจ้า]] มักจะแต่งงานกันเอง ผู้หญิงต้องแต่งงานกับคนในตระกูลเดียวกัน ผู้ชายแต่งงานกับคนนอกได้ ผลที่ตามมาก็คือ ต้นของสายตระกูลหนึ่ง ๆ ที่นับทางบิดาตลอด ของตระกูลเศรษฐีบางช้าง คือเจ้าพลายหรือไม่ก็เจ้าแสน
 
นอกจากนั้นสกุล ณ บางช้าง ยังเป็นราชินิกุลแห่งราชวงศ์จักรี ที่เป็นวงศ์หนึ่งในราชินิกุลบางช้างซึ่งมี 5 สกุล ได้แก่ [[ชูโต]] [[แสงชูโต]] [[สวัสดิชูโต]] [[บุนนาค]] และ ณ บางช้าง เจ้าทองและเจ้าสั้นทรงเป็นพระชนกและพระชนนีตามลำดับในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ทรงสืบเชื้อสายโดยนับทางบิดาตลอด จากเจ้าแสนและเจ้าพลายตามลำดับ และทรงมีพระโอรสพระธิดา (สำหรับผู้โต้แย้ง จุดนี้ที่จริงจะกล่าวว่ามีบุตร (ลูก) แต่กรณีนี้ เราไม่ใช้คำว่าพระบุตร) 10 องค์
# เจ้าหญิงแวน
# เจ้าหญิงทองอยู่