ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศอียิปต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 122:
=== สิทธิมนุษยชน ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== นโยบายต่างประเทศ ===
ช่วงปี [[พ.ศ. 2498]] ([[ค.ศ. 1955]]) สมัย[[ประธานาธิบดี]]นัสเซอร์ อียิปต์เน้นความเป็นปึกแผ่นในกลุ่มประเทศ[[อาหรับ]] และพยายามเข้าไปมีบทบาทสำคัญใน[[ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด]] ซึ่งในช่วงนี้ อียิปต์มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[สหภาพโซเวียต]] ได้รับความช่วยเหลือทั้งทางด้าน[[เศรษฐกิจ]]และ[[การทหาร]]จากสหภาพโซเวียต และเข้ายึด[[คลองสุเอซ]]เป็นของรัฐ เมื่อปี [[พ.ศ. 2499]] (ค.ศ. 1956) เพื่อหารายได้จากการเก็บค่าธรรมเนียมจากคลองสุเอซเป็นทุนสร้าง[[เขื่อนอัสวาน]]
 
ปี [[พ.ศ. 2510]] (ค.ศ. 1967) อียิปต์ส่งทหารไปยึดเมือง [[ชาร์ม เอล-เชห์ค]] บริเวณตอนใต้ของ[[แหลมไซนาย]] หลังจากได้เจรจาให้[[กองทหารนานาชาติ]]ถอนออกไปจาก[[ไซนาย]]แล้ว พร้อมกับได้ทำการปิดช่องแคบ[[ไทราน]] เพื่อมิให้[[อิสราเอล]]เดินเรือผ่าน การปฏิบัติการเช่นนี้ส่งผลให้เกิด[[สงครามหกวัน]] กับอิสราเอล ฝ่ายอิสราเอลได้รับชัยชนะ อียิปต์และ[[พันธมิตรอาหรับ]]ได้สูญเสียดินแดน ได้แก่ [[ฉนวนกาซา]]และแหลมไซนายให้แก่อิสราเอล นับตั้งแต่ประธานาธิบดี[[อัลวาร์ ซาดัต]]เข้าดำรงตำแหน่งในปี [[พ.ศ. 2513]] ([[ค.ศ. 1970]]) ความสัมพันธ์บางประเทศในอาหรับ อาทิ [[ลิเบีย]] และ[[ซีเรีย]] เย็นชาลง อียิปต์หันไปพึ่งพา[[สหรัฐอเมริกา]] ให้ช่วยไกล่เกลี่ยในการเจรจาสันติภาพกับอิสราเอล
 
เมื่อเกิด[[สงคราม 18 วัน]]จากกรณีอียิปต์ส่งทหารข้ามคลองสุเอซไปยึดครองดินแดนที่สูญเสียคืนการสู้รบได้ยุติลงโดยสหรัฐฯ เป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยได้ตกลงให้มี[[เขตปลอดทหาร]]ระหว่างเขตแดนของอียิปต์และอิสราเอล ภายใต้การควบคุมของกองกำลังรักษาสันติภาพของ[[สหประชาชาติ]]ซึ่งยังคงมีอยู่จนถึงปัจจุบัน อียิปต์หันไปพึ่งพาสหรัฐฯ มากขึ้น ยังผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างอียิปต์กับสหภาพโซเวียตถดถอยลง ในปี [[พ.ศ. 2519]] ([[ค.ศ. 1976]]) อียิปต์ได้ยกเลิกสนธิสัญญามิตรภาพกับสหภาพโซเวียต และให้ที่ปรึกษาด้านการทหารของโซเวียตออกจากประเทศ ในขณะเดียวกันสหรัฐฯ ได้ให้ความช่วยเหลือแก่อียิปต์เพิ่มมากขึ้นจนถึงปัจจุบันปีละประมาณ 2.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
 
ประธานาธิบดีซาดัตได้เดินทางไปเยือนอิสราเอล เมื่อปี [[พ.ศ. 2520]] ([[ค.ศ. 1977]]) เพื่อเจรจาสันติภาพ และอียิปต์ได้มีการลงนามในข้อตกลงสันติภาพที่[[แคมป์เดวิด]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2522]] ([[ค.ศ. 1979]]) มีผลให้อียิปต์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับอิสราเอล อิสราเอลยินยอมคืนดินแดน[[ไซนาย]]ทั้งหมด (ยกเว้น[[ทาบา]]) ให้แก่อียิปต์เมื่อปี [[พ.ศ. 2525]] ([[ค.ศ. 1982]]) แต่ผลจากการลงนามดังกล่าวทำให้ประเทศอาหรับส่วนใหญ่ตัดความสัมพันธ์กับอียิปต์ และอียิปต์ถูกขับออกจาก[[สันนิบาตอาหรับ]]เมื่อประธานาธิบดี[[มูบารัค]]เข้าบริหารประเทศ
 
ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2524]] ([[ค.ศ. 1981]]) ได้พยายามดำเนินนโยบายที่จะนำอียิปต์กลับสู่เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับกลุ่มประเทศอาหรับ ด้วยการดำเนินการในด้านต่าง ๆ อาทิ สนับสนุนขบวนการ[[ปาเลสไตน์]] สนับสนุน[[อิรัก]]ในสงครามระหว่างอิรักกับ[[อิหร่าน]] สนับสนุน[[คูเวต]]ในกรณีอิรักเข้ายึดครองคูเวต หลังจากนั้น ประเทศอาหรับต่าง ๆ ได้ปรับความสัมพันธ์ทางการทูตตามปกติกับอียิปต์ ในขณะเดียวกัน อียิปต์ได้รับการสนับสนุนอย่างแข็งขันจากสหรัฐฯ และ[[ชาติตะวันตก]]ในการแสวงหาลู่ทางแก้ไขปัญหา[[ตะวันออกกลาง]] ประธานาธิบดีมูบารัค ดำเนินบทบาทสำคัญในการประสานระหว่างกลุ่มอาหรับและ เป็นตัวเชื่อมในการเจรจากับอิสราเอลในปัญหาตะวันออกกลาง และพยายามแสดงบทบาทนำในกลุ่มประเทศอาหรับและ[[แอฟริกา]]
 
=== ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย===
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|อียิปต์ – ไทย|อียิปต์|ไทย|map=Eygpt Thailand Locator.png}}
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอียิปต์ ดำเนินมาอย่างราบรื่นและก้าวหน้ามาตามลำดับ โดยหลังจากการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีไทย-อียิปต์ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2546]] และครั้งที่สองเมื่อปี [[พ.ศ. 2549]] ไทยและอียิปต์ได้ขยายความร่วมมือระหว่างกัน อาทิ ความร่วมมือด้านข่าวกรอง การผลักดันให้แต่ละฝ่ายเป็นประตูทางธุรกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวระหว่างกัน และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในปี [[พ.ศ. 2547]] ซึ่งเป็นโอกาสครบรอบ 50 ปี แห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-อียิปต์ ปัจจุบันทั้งสองฝ่ายมีเป้าหมายจะเพิ่มมูลค่ารวมด้านการค้าเป็น 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี [[พ.ศ. 2551]] เพิ่มพูนความร่วมมือกันในด้านพลังงาน วิชาการ และการศึกษา อาทิ ความร่วมมือด้านการป้องกันโรคไข้หวัดนก การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนไทยมุสลิมของมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร และ การแลกเปลี่ยนการเยือนทั้งในระดับรัฐบาล ภาคเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนของทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ การเสด็จฯ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่างวันที่ 17-23 มีนาคม [[พ.ศ. 2550]] และการเชิญผู้นำสูงสุดทางศาสนาอิสลามของอียิปต์เยือนไทย ระหว่างวันที่ 23-27 มิถุนายน 2550 นับเป็นความก้าวหน้าในความสัมพันธ์อันดีระหว่างทั้งสองประเทศ
* ด้านการทูต
[[ประเทศไทย]]และสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์สถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ [[27 กันยายน]] [[พ.ศ. 2497]] นับเป็นประเทศแรกในกลุ่มอาหรับที่สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย ที่ผ่านมาทั้งสองฝ่ายไม่มีปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างกัน ต่างสนับสนุนกันในเวทีระหว่างประเทศ และในความร่วมมือระดับภูมิภาคเช่น ในเวที Asia Middle East Dialogue (AMED) เป็นต้น
* ด้านเศรษฐกิจ
การค้าไทย - อียิปต์ในปี [[พ.ศ. 2556]] มีมูลค่ารวม 949 ล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] ไทยส่งออก 911 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นำเข้า 38 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยได้เปรียบดุลการค้า 873 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
 
สินค้าออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ [[รถยนต์]] อุปกรณ์และส่วนประกอบ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป [[ยางพารา]] ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ [[ทองแดง]]และของที่ทำด้วยทองแดง [[กระดาษ]]และผลิตภัณฑ์กระดาษ [[เหล็ก]] เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ [[ตู้เย็น]] ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ
 
สินค้าเข้าจากอียิปต์ที่สำคัญ ได้แก่ [[ปุ๋ย]] และยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ด้ายและเส้นใย สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ [[ผัก]] [[ผลไม้]]และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้ เป็นต้น
* ด้านการศึกษา
อียิปต์ เป็นศูนย์กลางการศึกษา[[อิสลาม]]ซึ่งเป็นที่นิยม ของนักศึกษาไทยมุสลิม ปัจจุบันไทยมีโครงการร่วมมือด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัรของอียิปต์ โดยมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ได้สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาที่มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ [[จ.นราธิวาส]] และการส่งครูมาร่วมทำการสอน นอกจากนั้น ปัจจุบันมีนักศึกษาไทยซึ่งกำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ประมาณ 2,500 คน โดยในแต่ละปีมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ได้ให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนไทยมุสลิมประมาณปีละ 60-80 ทุน และทุนจากรัฐบาลอียิปต์ (กระทรวงอุดมศึกษา) ซึ่งให้แก่นักเรียนไทยทั่วไป ปีละ 2 ทุน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ยังได้ส่งครูมาสอนในโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามหลายแห่งในไทยมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2549-[[พ.ศ. 2557]] ไทยได้บริจาคเงินให้กับมหาวิทยาลัยฯ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของนักเรียนไทยด้วย
ขณะเดียวกัน ไทยก็ได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่อียิปต์ในหลายสาขา อาทิ การจัดอบรมหลักสูตรด้านการท่องเที่ยว หลักสูตรฝึกอบรมด้านการบริหารธุรกิจการส่งออก หลักสูตรด้านการบริหารจัดการลุ่มน้ำและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นต้น
* การเยือน
- ฝ่ายไทย
เมื่อเดือนธันวาคม [[พ.ศ. 2531]] [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จฯ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อเดือนมกราคม [[พ.ศ. 2533]] และเดือนมกราคม [[พ.ศ. 2536]] [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] เสด็จเยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อเดือนธันวาคม [[พ.ศ. 2548]] [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] เสด็จเยือนอียิปต์เป็นการส่วนพระองค์
 
วันที่ 17 - [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จฯ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2530]] [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] นายกรัฐมนตรี เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2542]] [[นายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์]] จุฬาราชมนตรี เดินทางเยือนอียิปต์เพื่อเข้าร่วมประชุมศาสนาอิสลาม
 
เมื่อวันที่ 29 - [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]] [[นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เดินทางเยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ และเป็นประธานร่วมการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมไทย-อียิปต์ ครั้งที่ 1
 
เมื่อวันที่ 23 - [[25 กันยายน]] [[พ.ศ. 2546]] นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลพร้อมด้วยผู้แทนจากภาครัฐ และเอกชนเดินทางเยือนอียิปต์
 
เมื่อวันที่ 20 - 23 มีนาคม [[พ.ศ. 2547]] นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเดินทางไปร่วมประชุมความร่วมมือนานาชาติใน การกำจัดโรคเท้าช้าง ครั้งที่ 3 (Third Meeting of the Global Alliance for Elimination of Lymphatic Filariasis) ที่กรุง[[ไคโร]]
 
เมื่อวันที่ 4 - [[9 มกราคม]] 2548 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้นำคณะเดินทางไปเจรจาเรื่องความร่วมมือด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร
 
เมื่อวันที่ [[31 กรกฎาคม]] - [[2 สิงหาคม]] 2548 นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ผู้แทนการค้าไทย นำคณะผู้แทนภาครัฐและเอกชนไทยเดินทางไปขยายความสัมพันธ์และแสวงหาโอกาสในการ ส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้า อุตสาหกรรม ความร่วมมือทางวิชาการ และการลงทุนกับอียิปต์
 
เมื่อวันที่ 28 - [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] นายกันตธีร์ ศุภมงคล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ และเป็นประธานร่วมการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมไทย-อียิปต์ ครั้งที่ 2
 
เมื่อวันที่ 17-[[18 เมษายน]] [[พ.ศ. 2550]] นายสวนิต คงสิริ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ [[22 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2555]] นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ 11-[[12 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2557]] [[นายจาตุรนต์ ฉายแสง]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและคณะผู้แทนจากศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และผู้แทนจากส่วนราชการต่างๆ ของไทย ได้เดินทางเยือนอียิปต์ เพื่อหารือเรื่องแนวทางและวิธีการในการให้การช่วยเหลือและสนับสนุนนักเรียนไทยในอียิปต์
- ฝ่ายอียิปต์
เมื่อปี [[พ.ศ. 2539]]
นาย อามืร์ มุสซา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอียิปต์เยือนไทย
 
เมื่อวันที่ [[27 กุมภาพันธ์]] - [[2 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2547]]
ชีค อาเหม็ด อัล-ทายีบ อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร เยือนไทย ในฐานะแขกของรัฐบาล
 
เมื่อวันที่ 13-[[15 ตุลาคม]] 2547
นาย อิสซัท ซาอัด, ผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศฝ่ายกิจการเอเชียของอียิปต์เดินทางเยือนไทย ในฐานะแขกของกระทรวงการต่างประเทศ
 
วันที่ 23-[[27 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2550]]
ดร.มูฮัมหมัด ซัยยิด ฏอนฏอวี ผู้นำสูงสุดทางศาสนาอิสลามของอียิปต์ ซึ่งมีตำแหน่งเทียบเท่านายกรัฐมนตรีในทางการเมือง เยือนไทย ในฐานะแขกของรัฐบาล<ref>http://www.thaiembassy.org/cairo/th/relation/42381-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B9%8C.html</ref>
 
=== กองทัพ ===
{{บทความหลัก|กองทัพอียิปต์}}
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 221 ⟶ 293:
|}
 
=== เมืองใหญ่สุด 20 อันดับแรก ===
{{เมืองใหญ่สุดในอียิปต์}}
 
== นโยบายต่างประเทศ ==
ช่วงปี [[พ.ศ. 2498]] ([[ค.ศ. 1955]]) สมัย[[ประธานาธิบดี]]นัสเซอร์ อียิปต์เน้นความเป็นปึกแผ่นในกลุ่มประเทศ[[อาหรับ]] และพยายามเข้าไปมีบทบาทสำคัญใน[[ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด]] ซึ่งในช่วงนี้ อียิปต์มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[สหภาพโซเวียต]] ได้รับความช่วยเหลือทั้งทางด้าน[[เศรษฐกิจ]]และ[[การทหาร]]จากสหภาพโซเวียต และเข้ายึด[[คลองสุเอซ]]เป็นของรัฐ เมื่อปี [[พ.ศ. 2499]] (ค.ศ. 1956) เพื่อหารายได้จากการเก็บค่าธรรมเนียมจากคลองสุเอซเป็นทุนสร้าง[[เขื่อนอัสวาน]]
 
ปี [[พ.ศ. 2510]] (ค.ศ. 1967) อียิปต์ส่งทหารไปยึดเมือง [[ชาร์ม เอล-เชห์ค]] บริเวณตอนใต้ของ[[แหลมไซนาย]] หลังจากได้เจรจาให้[[กองทหารนานาชาติ]]ถอนออกไปจาก[[ไซนาย]]แล้ว พร้อมกับได้ทำการปิดช่องแคบ[[ไทราน]] เพื่อมิให้[[อิสราเอล]]เดินเรือผ่าน การปฏิบัติการเช่นนี้ส่งผลให้เกิด[[สงครามหกวัน]] กับอิสราเอล ฝ่ายอิสราเอลได้รับชัยชนะ อียิปต์และ[[พันธมิตรอาหรับ]]ได้สูญเสียดินแดน ได้แก่ [[ฉนวนกาซา]]และแหลมไซนายให้แก่อิสราเอล นับตั้งแต่ประธานาธิบดี[[อัลวาร์ ซาดัต]]เข้าดำรงตำแหน่งในปี [[พ.ศ. 2513]] ([[ค.ศ. 1970]]) ความสัมพันธ์บางประเทศในอาหรับ อาทิ [[ลิเบีย]] และ[[ซีเรีย]] เย็นชาลง อียิปต์หันไปพึ่งพา[[สหรัฐอเมริกา]] ให้ช่วยไกล่เกลี่ยในการเจรจาสันติภาพกับอิสราเอล
 
เมื่อเกิด[[สงคราม 18 วัน]]จากกรณีอียิปต์ส่งทหารข้ามคลองสุเอซไปยึดครองดินแดนที่สูญเสียคืนการสู้รบได้ยุติลงโดยสหรัฐฯ เป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยได้ตกลงให้มี[[เขตปลอดทหาร]]ระหว่างเขตแดนของอียิปต์และอิสราเอล ภายใต้การควบคุมของกองกำลังรักษาสันติภาพของ[[สหประชาชาติ]]ซึ่งยังคงมีอยู่จนถึงปัจจุบัน อียิปต์หันไปพึ่งพาสหรัฐฯ มากขึ้น ยังผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างอียิปต์กับสหภาพโซเวียตถดถอยลง ในปี [[พ.ศ. 2519]] ([[ค.ศ. 1976]]) อียิปต์ได้ยกเลิกสนธิสัญญามิตรภาพกับสหภาพโซเวียต และให้ที่ปรึกษาด้านการทหารของโซเวียตออกจากประเทศ ในขณะเดียวกันสหรัฐฯ ได้ให้ความช่วยเหลือแก่อียิปต์เพิ่มมากขึ้นจนถึงปัจจุบันปีละประมาณ 2.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
 
ประธานาธิบดีซาดัตได้เดินทางไปเยือนอิสราเอล เมื่อปี [[พ.ศ. 2520]] ([[ค.ศ. 1977]]) เพื่อเจรจาสันติภาพ และอียิปต์ได้มีการลงนามในข้อตกลงสันติภาพที่[[แคมป์เดวิด]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2522]] ([[ค.ศ. 1979]]) มีผลให้อียิปต์สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับอิสราเอล อิสราเอลยินยอมคืนดินแดน[[ไซนาย]]ทั้งหมด (ยกเว้น[[ทาบา]]) ให้แก่อียิปต์เมื่อปี [[พ.ศ. 2525]] ([[ค.ศ. 1982]]) แต่ผลจากการลงนามดังกล่าวทำให้ประเทศอาหรับส่วนใหญ่ตัดความสัมพันธ์กับอียิปต์ และอียิปต์ถูกขับออกจาก[[สันนิบาตอาหรับ]]เมื่อประธานาธิบดี[[มูบารัค]]เข้าบริหารประเทศ
 
ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2524]] ([[ค.ศ. 1981]]) ได้พยายามดำเนินนโยบายที่จะนำอียิปต์กลับสู่เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับกลุ่มประเทศอาหรับ ด้วยการดำเนินการในด้านต่าง ๆ อาทิ สนับสนุนขบวนการ[[ปาเลสไตน์]] สนับสนุน[[อิรัก]]ในสงครามระหว่างอิรักกับ[[อิหร่าน]] สนับสนุน[[คูเวต]]ในกรณีอิรักเข้ายึดครองคูเวต หลังจากนั้น ประเทศอาหรับต่าง ๆ ได้ปรับความสัมพันธ์ทางการทูตตามปกติกับอียิปต์ ในขณะเดียวกัน อียิปต์ได้รับการสนับสนุนอย่างแข็งขันจากสหรัฐฯ และ[[ชาติตะวันตก]]ในการแสวงหาลู่ทางแก้ไขปัญหา[[ตะวันออกกลาง]] ประธานาธิบดีมูบารัค ดำเนินบทบาทสำคัญในการประสานระหว่างกลุ่มอาหรับและ เป็นตัวเชื่อมในการเจรจากับอิสราเอลในปัญหาตะวันออกกลาง และพยายามแสดงบทบาทนำในกลุ่มประเทศอาหรับและ[[แอฟริกา]]
 
=== ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย===
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|อียิปต์ – ไทย|อียิปต์|ไทย|map=Eygpt Thailand Locator.png}}
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอียิปต์ ดำเนินมาอย่างราบรื่นและก้าวหน้ามาตามลำดับ โดยหลังจากการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีไทย-อียิปต์ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2546]] และครั้งที่สองเมื่อปี [[พ.ศ. 2549]] ไทยและอียิปต์ได้ขยายความร่วมมือระหว่างกัน อาทิ ความร่วมมือด้านข่าวกรอง การผลักดันให้แต่ละฝ่ายเป็นประตูทางธุรกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวระหว่างกัน และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในปี [[พ.ศ. 2547]] ซึ่งเป็นโอกาสครบรอบ 50 ปี แห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-อียิปต์ ปัจจุบันทั้งสองฝ่ายมีเป้าหมายจะเพิ่มมูลค่ารวมด้านการค้าเป็น 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี [[พ.ศ. 2551]] เพิ่มพูนความร่วมมือกันในด้านพลังงาน วิชาการ และการศึกษา อาทิ ความร่วมมือด้านการป้องกันโรคไข้หวัดนก การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนไทยมุสลิมของมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร และ การแลกเปลี่ยนการเยือนทั้งในระดับรัฐบาล ภาคเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนของทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ การเสด็จฯ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่างวันที่ 17-23 มีนาคม [[พ.ศ. 2550]] และการเชิญผู้นำสูงสุดทางศาสนาอิสลามของอียิปต์เยือนไทย ระหว่างวันที่ 23-27 มิถุนายน 2550 นับเป็นความก้าวหน้าในความสัมพันธ์อันดีระหว่างทั้งสองประเทศ
* ด้านการทูต
[[ประเทศไทย]]และสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์สถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ [[27 กันยายน]] [[พ.ศ. 2497]] นับเป็นประเทศแรกในกลุ่มอาหรับที่สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย ที่ผ่านมาทั้งสองฝ่ายไม่มีปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างกัน ต่างสนับสนุนกันในเวทีระหว่างประเทศ และในความร่วมมือระดับภูมิภาคเช่น ในเวที Asia Middle East Dialogue (AMED) เป็นต้น
* ด้านเศรษฐกิจ
การค้าไทย - อียิปต์ในปี [[พ.ศ. 2556]] มีมูลค่ารวม 949 ล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] ไทยส่งออก 911 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นำเข้า 38 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยได้เปรียบดุลการค้า 873 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
 
สินค้าออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ [[รถยนต์]] อุปกรณ์และส่วนประกอบ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป [[ยางพารา]] ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ [[ทองแดง]]และของที่ทำด้วยทองแดง [[กระดาษ]]และผลิตภัณฑ์กระดาษ [[เหล็ก]] เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ [[ตู้เย็น]] ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ
 
สินค้าเข้าจากอียิปต์ที่สำคัญ ได้แก่ [[ปุ๋ย]] และยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ด้ายและเส้นใย สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ [[ผัก]] [[ผลไม้]]และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้ เป็นต้น
* ด้านการศึกษา
อียิปต์ เป็นศูนย์กลางการศึกษา[[อิสลาม]]ซึ่งเป็นที่นิยม ของนักศึกษาไทยมุสลิม ปัจจุบันไทยมีโครงการร่วมมือด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัรของอียิปต์ โดยมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ได้สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาที่มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ [[จ.นราธิวาส]] และการส่งครูมาร่วมทำการสอน นอกจากนั้น ปัจจุบันมีนักศึกษาไทยซึ่งกำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ประมาณ 2,500 คน โดยในแต่ละปีมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ได้ให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนไทยมุสลิมประมาณปีละ 60-80 ทุน และทุนจากรัฐบาลอียิปต์ (กระทรวงอุดมศึกษา) ซึ่งให้แก่นักเรียนไทยทั่วไป ปีละ 2 ทุน นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร ยังได้ส่งครูมาสอนในโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามหลายแห่งในไทยมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2549-[[พ.ศ. 2557]] ไทยได้บริจาคเงินให้กับมหาวิทยาลัยฯ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของนักเรียนไทยด้วย
ขณะเดียวกัน ไทยก็ได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่อียิปต์ในหลายสาขา อาทิ การจัดอบรมหลักสูตรด้านการท่องเที่ยว หลักสูตรฝึกอบรมด้านการบริหารธุรกิจการส่งออก หลักสูตรด้านการบริหารจัดการลุ่มน้ำและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นต้น
* การเยือน
- ฝ่ายไทย
เมื่อเดือนธันวาคม [[พ.ศ. 2531]] [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จฯ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อเดือนมกราคม [[พ.ศ. 2533]] และเดือนมกราคม [[พ.ศ. 2536]] [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] เสด็จเยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อเดือนธันวาคม [[พ.ศ. 2548]] [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] เสด็จเยือนอียิปต์เป็นการส่วนพระองค์
 
วันที่ 17 - [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จฯ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2530]] [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] นายกรัฐมนตรี เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2542]] [[นายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์]] จุฬาราชมนตรี เดินทางเยือนอียิปต์เพื่อเข้าร่วมประชุมศาสนาอิสลาม
 
เมื่อวันที่ 29 - [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]] [[นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เดินทางเยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ และเป็นประธานร่วมการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมไทย-อียิปต์ ครั้งที่ 1
 
เมื่อวันที่ 23 - [[25 กันยายน]] [[พ.ศ. 2546]] นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลพร้อมด้วยผู้แทนจากภาครัฐ และเอกชนเดินทางเยือนอียิปต์
 
เมื่อวันที่ 20 - 23 มีนาคม [[พ.ศ. 2547]] นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเดินทางไปร่วมประชุมความร่วมมือนานาชาติใน การกำจัดโรคเท้าช้าง ครั้งที่ 3 (Third Meeting of the Global Alliance for Elimination of Lymphatic Filariasis) ที่กรุง[[ไคโร]]
 
เมื่อวันที่ 4 - [[9 มกราคม]] 2548 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้นำคณะเดินทางไปเจรจาเรื่องความร่วมมือด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร
 
เมื่อวันที่ [[31 กรกฎาคม]] - [[2 สิงหาคม]] 2548 นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ ผู้แทนการค้าไทย นำคณะผู้แทนภาครัฐและเอกชนไทยเดินทางไปขยายความสัมพันธ์และแสวงหาโอกาสในการ ส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้า อุตสาหกรรม ความร่วมมือทางวิชาการ และการลงทุนกับอียิปต์
 
เมื่อวันที่ 28 - [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] นายกันตธีร์ ศุภมงคล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ และเป็นประธานร่วมการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมไทย-อียิปต์ ครั้งที่ 2
 
เมื่อวันที่ 17-[[18 เมษายน]] [[พ.ศ. 2550]] นายสวนิต คงสิริ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ [[22 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2555]] นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยือนอียิปต์อย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ 11-[[12 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2557]] [[นายจาตุรนต์ ฉายแสง]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและคณะผู้แทนจากศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และผู้แทนจากส่วนราชการต่างๆ ของไทย ได้เดินทางเยือนอียิปต์ เพื่อหารือเรื่องแนวทางและวิธีการในการให้การช่วยเหลือและสนับสนุนนักเรียนไทยในอียิปต์
- ฝ่ายอียิปต์
เมื่อปี [[พ.ศ. 2539]]
นาย อามืร์ มุสซา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอียิปต์เยือนไทย
 
เมื่อวันที่ [[27 กุมภาพันธ์]] - [[2 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2547]]
ชีค อาเหม็ด อัล-ทายีบ อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัล อัซฮัร เยือนไทย ในฐานะแขกของรัฐบาล
 
เมื่อวันที่ 13-[[15 ตุลาคม]] 2547
นาย อิสซัท ซาอัด, ผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศฝ่ายกิจการเอเชียของอียิปต์เดินทางเยือนไทย ในฐานะแขกของกระทรวงการต่างประเทศ
 
วันที่ 23-[[27 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2550]]
ดร.มูฮัมหมัด ซัยยิด ฏอนฏอวี ผู้นำสูงสุดทางศาสนาอิสลามของอียิปต์ ซึ่งมีตำแหน่งเทียบเท่านายกรัฐมนตรีในทางการเมือง เยือนไทย ในฐานะแขกของรัฐบาล<ref>http://www.thaiembassy.org/cairo/th/relation/42381-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B9%8C.html</ref>
 
== กองทัพ ==
{{บทความหลัก|กองทัพอียิปต์}}
 
=== กองกำลังกึ่งทหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== เศรษฐกิจ ==
เส้น 320 ⟶ 315:
ในปัจจุบันอียิปต์มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมากขึ้น มีการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพดีขึ้น และมีการลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติเพิ่มขึ้น โดยเข้าไปประกอบอุตสาหกรรมและลงทุนสาขาต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมประเภทที่ไทยผลิตและส่งออกด้วย ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทยไปยังอียิปต์ในอนาคต อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันอียิปต์ได้เข้าไปร่วมเป็นสมาชิกตลาดร่วม[[แอฟริกาตะวันออก]]และใต้ (Common Market of Eastern and Southern Africa – COMESA) ในปี [[พ.ศ. 2541]] (ค.ศ. 1998) โดยมีจุดมุ่งหมายขยายตลาดสินค้าอียิปต์เข้าไปยังประเทศต่าง ๆ ใน[[แอฟริกา]] ฝ่ายไทยจึงอาจพิจารณาสนับสนุนให้นักลงทุนไปลงทุน/ร่วมลงทุนในอียิปต์เพื่อการ ส่งออกไปยังตลาดร่วมแอฟริกาในอนาคต หรือมุ่งใช้อียิปต์เป็นประตูสู่ประเทศต่าง ๆ ในแอฟริกา เมื่อเดือน มิ.ย. 44 อียิปต์ได้ลงนามร่วมกับ[[สหภาพยุโรป]] (อียู) ในความตกลง Euro-Mediterranean Association Agreement ซึ่งจะมีผลตต่อความสัมพันธ์กับอียูในด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ การเงิน ลังคม วัฒนธรรมและการกงสุล
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ==
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== การศึกษา ===
{{โครง-ส่วน}}
เส้น 345 ⟶ 340:
{{โครง-ส่วน}}
ในอดีตชาวอียิปต์นับถือ[[เทพเจ้า]]และมีกษัตริย์ที่เรียกว่า '''ฟาโรห์''' และในสมัย[[พระเจ้าอโศกมหาราช]]แห่ง[[อินเดีย]] พระเจ้าอโศกได้ทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับอียิปต์และได้เผยแพร่[[พระพุทธศาสนา]]ในเขตเมือง[[อเล็กซานเดรีย]] ''(ดูเพิ่มได้ใน [[พุทธศาสนาในประเทศอียิปต์]])'' แต่ในปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ 94% นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] [[นิกายสุหนี่]] อีก 6% นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] [[นิกายคอปติก]]
 
=== เมืองใหญ่สุด 20 อันดับแรก ===
{{เมืองใหญ่สุดในอียิปต์}}
 
=== กีฬา ===
เส้น 356 ⟶ 354:
 
=== อาหาร ===
{{บทความหลัก|อาหารอียิปต์}}
{{โครง-ส่วน}}
 
อาหารหลักของคนอียิปต์
 
การกินอาหารของคนในตะวันออกกลางจะมีความแตกต่างมากกับคนในเอเชียเราและอาหารหลักของทุกชนชั้นของคนอียิปต์ นั้น คือ ขนมปัง หัวหอม พวกผักต่างๆ แล้วก็ปลาแห้ง นอกจากนี้ คนอียิปต์จะมีน้ำเชื่อมซึ่ง ทำจากผลไม้ อาทิเช่นพวก องุ่น เพื่อให้ได้รสหวานและจะกินกับขนปังซึ่งจะใช้ขนมปังจิ้มกับน้ำเชื่อม และนอกจากนั้น ยังมีการใช้ในน้ำผึ้ง เกลือ กระเทียม หัวหอม ในการปรุงรสให้อร่อยด้วย และนอกจากขนมปังแล้วเขาจะกินโยเกิตย์พร้อมๆกับเมนูอาหารหลักอีกด้วยส่วนอาหารประเภทเนื้อสัตว์นี้ก็มี สัตว์ที่นิยมรับประทานก็คือพวก เนื้อแกะ แพะ และเนื้อวัว