ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัก จ็อง-ฮี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 81:
 
===นโยบายด้านเศรษฐกิจ===
แนวความคิดในการพัฒนาทางเศรษฐกิจของปาร์ค จุงฮี มีที่มาจากประสบการณ์ของเขาที่ได้รับมาจากกองทัพญี่ปุ่น ด้วยการวางแผนและใช้อำนาจควบคุมจากส่วนกลางและใช้อำนาจเด็ดขาดในการควบคุม ปาร์คได้จัดตั้ง 4 หน่วยงานไว้กำกับดูแลเพื่อความมีประสิทธิภาพของการพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่
*1. คณะกรรมการการวางแผนเศรษฐกิจ (EPB)
*2. กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม (MTI)
*3. กระทรวงการคลัง
*4. หน่วยข่าวกรองกลาง (KCIA)
การจัดตั้งหน่วยงานที่กำกับดูแลด้านเศรษฐกิจเช่นนี้ มีความคล้ายคลึงกันกับหน่วยงานของประเทศญี่ปุ่น ในการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ เช่นในกรณีของญี่ปุ่นหน่วยงานเหล่านี้เป็นองค์ประกอบสำคัญของในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะหน่วยงานสำนักข่าวกรองกลางหน่วย เป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญ ในการควบคุมทางการเมืองที่ทางด้านการเมืองไปพร้อมกับอำนาจของการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ.
 
ปาร์คใช้แผนพัฒนาทางเศรษฐกิจเพื่อที่จะยกระดับสถานภาพของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. ปาร์ค ใช้แผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยได้จัดวางผู้เชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐกิจ ในการควบคุมดูแล ในปี ค.ศ. 1961 มีการจัดตั้งคณะกรรมการการวางแผนเศรษฐกิจ (EPB) ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นมา ปาร์คยืนยันว่าในตำแหน่งคณะกรรมการระดับสูงเหล่านี้ ปาร์ค ยืนยันว่ามันจะเต็มไปด้วยบุคคลที่มีคุณสมบัติทางเทคนิคที่ยอดเยี่ยม มากกว่าที่จะเป็นนักการเมืองหรือสมาชิกระดับสูงของทหาร ต่อมาในปี ค.ศ.1962 EPB ได้ดำเนินการตามแผนพัฒนา "แผนห้าปีสำหรับการพัฒนาของเกาหลี''" ธนาคารของรัฐบาลถูกสร้างจัดตั้งขึ้น เพื่อช่วยในการดำเนินการสำหรับตามแผนพัฒนา และมีการออกกฎหมายแบบบังคับใช้ ส่งไปยังกับธนาคารเอกชน เพื่อให้เกิดความมีประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ยังจะกลายเป็นการดำเนินงาน เพื่อส่งผลที่ดี ในช่วงหลายปีข้างหน้า ที่สำคัญ แผนห้าปีสำหรับการพัฒนาของเกาหลี รัฐบาลเป็นผู้มีส่วนร่วมในการประกอบอุตสาหกรรม
 
ในปี 1960 กว่าหนึ่งในสามของงบประมาณของรัฐบาล ได้มีการลงทุน โดยภาครัฐ และมีสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับหนึ่งในสามของเงินทุนทั้งหมด ในประเทศ ดังนั้นระหว่างปี 1963 และปี 1977 รัฐวิสาหกิจในเกาหลีมี GDP เพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 10 ต่อปี ผู้ประกอบการมี จีดีพี เพิ่มขึ้นจากน้อยกว่าร้อยละ 6 ในปี 1963
ที่สำคัญ แผนห้าปีสำหรับการพัฒนาของเกาหลี รัฐบาลเป็นผู้มีส่วนร่วมในการประกอบอุตสาหกรรม ในช่วงปี ค.ศ. 1960 งบประมาณของรัฐบาลประมาณกว่าหนึ่งในสาม เป็นการลงทุนโดยภาครัฐ และมีสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับหนึ่งในสามของเงินทุนทั้งหมดในประเทศ ดังนั้นระหว่างปี ค.ศ. 1963 ถึงปี ค.ศ. 1977 รัฐวิสาหกิจในเกาหลีมี GDP เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 10 ต่อปี ส่วนแบ่งของการส่งออกโดย รัฐวิสาหกิจในเกาหลีมี GDP สูงเทียบเคียงกับประเทศ อินเดีย หรือ ประเทศปากีสถาน สะท้อนให้เห็นถึงการเป็นตัวแทนที่โดดเด่นในทางเศรษฐกิจ
 
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลของปาร์ค มีความก้าวหน้าด้วยบทบาทของรัฐบาลเกาหลีที่เป็น "ผู้ประกอบการและผู้จัดการ" และเป็นที่ประจักษ์มากขึ้น เมื่อองค์กรโดยรัฐบาลที่สำคัญเหล่านี้ โดยรัฐบาล ยังสนับสนุนกิจการที่ดำเนินการโดยภาคเอกชน เป็นสืบเนื่องจากนโยบายในการอุดหนุนผู้ประกอบการภาคเอกชน ที่มีศักยภาพที่สามารถจะบรรลุเป้าหมายระดับสูงของผลการผลิตสินค้าคุณภาพเพื่อการส่งออก หรือ ผลิตภายในประเทศเพื่อลดการนำเข้า โดยเงินอุดหนุนส่วนใหญ่จากรัฐบาลเป็นรูปแบบของการเข้าถึงสิทธิพิเศษ ทั้งสินเชื่อและเครดิต
โดยเงินอุดหนุนส่วนใหญ่จากรัฐบาลเป็นรูปแบบของการเข้าถึงสิทธิพิเศษ ทั้งสินเชื่อและ เครดิต.
 
มีการดำเนินการจัดตั้ง กลุ่มบริษัทใหญ่ อย่าง chaebol เช่น กลุ่มบริษัท ฮุนได / แดวู / ซัมซุง / โกลสตาร์ (LG)
ส่วนมีการดำเนินการจัดตั้งกลุ่มบริษัทใหญ่เป็นอย่าง chaebol เช่น กลุ่มบริษัท ฮุนได / แดวู / ซัมซุง / โกลสตาร์ (LG) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทที่ประสบความสำเร็จตามนโยบายของ ปาร์ค ในความเป็นจริง กลุ่มผู้ประกอบการเหล่านี้ประสบความสำเร็จในการขยายธุรกิจของพวกเขา ด้วยนโยบายที่มีประสิทธิภาพมาก ของ ปาร์ค ด้วยการปลูกฝังค่านิยมที่มุ่งเน้นการส่งออก บริษัทถูกที่จัดตั้งขึ้นเป็น การอำนวยความสะดวกอย่างหนึ่ง ในภาพรวมของการส่งออกของประเทศ
 
สามปัจจัยที่สำคัญ (ที่เรียกว่า "สามเหลี่ยมเหล็ก") สำหรับการฟื้นฟูประเทศ
*1.ความมั่นคงของรัฐ
*2.ระบบราชการที่แข็งแกร่ง
*3.กลุ่มธุรกิจ chaebol
 
รัฐบาล ปาร์ค สามารถรวมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศ และ ภาคเอกชน ในลักษณะที่มีความรู้สึกถึงชาตินิยม ที่ช่วยให้รัฐบาลผลักดัน นโยบายด้านเศรษฐกิจ นโยบายเหล่านี้ ได้รับการจัดตั้งขึ้นในหลายวิธี รวมทั้งเงินทุนหรือค้ำประกันสินเชื่อโดยรัฐบาล
นโยบายซึ่งถูกนำมาใช้เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ การดำเนินการตามนโยบายที่ส่งผลให้อุตสาหกรรมภาครัฐ ให้การสนับสนุนการขยายตัวในเชิงพาณิชย์ กับ กลุ่ม บริษัท Chaebol ในเกาหลีใต้ มักถูกเรียกว่ากลุ่มธุรกิจครอบครัว หรือการควบคุมผู้ผูกขาด ทั้งด้านผลิตภัณฑ์ และอุตสาหกรรม พวกเขาสามารถนำมาเปรียบเทียบกับกลุ่ม บริษัท ของสหรัฐอเมริกาและ Zaibatsu ของญี่ปุ่น บางครั้งตัวทหารเกาหลีเองถือว่าเป็น chaebol ในอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้ ปาร์ค สนับสนุนการเพิ่มขึ้นของกลุ่ม chaebol อำนวยความสะดวกในการปรับปรุงกลุ่มเหล่านี้ เพื่อประโยชน์ของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ในภาพรวม ภายในการดำเนินงานของกลุ่ม chaebol ที่มีหลายสาขา และดำเนินการควบคุมทุกธุรกิจของกลุ่ม chaebol กลุ่มธุรกิจ ที่เริ่มต้นจากกลุ่มธุรกิจครอบครัว และร้อยละ 70 ของกลุ่ม chaebol มีการจัดการสมาชิกในครอบครัวเพื่อให้สมดุลทางอำนาจ และกลุ่มเหล่านี้จะเติบโตแข็งแกร่งขึ้นในรูปแบบของพันธมิตร... chaebol จำนวนมาก มักผ่านการแต่งงานรวมกลุ่มกัน ตัวอย่าง ซัมซุง และ ฮุนได