ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัก จ็อง-ฮี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 72:
อย่างไรก็ตาม การแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่เจ็ด ในปี ค.ศ. 1972 ได้เพิ่มบทบัญญัติให้ประธานาธิบดีสามารถอยู่ในตำแหน่งได้ตลอดชีวิต ซึ่งหมายถึงการยกเลิกการกำหนดวาระของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีนั่นเอง เพื่อให้นายปาร์ค จุงฮีสามารถดำรงตำแหน่งดังกล่าวได้ตลอดไป อนึ่ง ได้มีการกำหนดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) หรือเรียกว่า เป็นการเลือกทางอ้อม นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังเพิ่มอำนาจให้กับประธานาธิบดีมากขึ้น เช่น เป็นผู้แต่งตั้งสมาชิกรัฐสภาจำนวนหนึ่งในสามของสภาทั้งหมด สามารถยุบสภาได้ และสามารถประกาศภาวะฉุกเฉินเพื่อสลายกลุ่มหรือบุคคลที่ทำการต่อต้านรัฐบาลได้
 
===การจัดตั้งองค์กรด้านข่าวกรอง===
ปาร์ค จุงฮี กับการเป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งองค์กรณ์เพื่อควบคุมในด้านต่างๆต่าง ๆ การบริหารประเทศของ ปาร์ค ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ อย่างหนักประเทศ หนึ่งในกรณีองค์กรที่มีชื่อเสียงบทบาทในทางการเมืองเป็นอย่างมากที่สุด คือ การจัดเก็บภาษีด้วยกฎอัยการศึกสำนักข่าวกรองกลางเกาหลี นอกจากนี้ ปาร์คยังได้ทำการจัดตั้ง(KCIA=Korea
Central Intelligence Agency) ถูกสร้างจัดตั้งขึ้นเมื่อ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1961 ในสมัยของปาร์ค จุงฮี โดยมีต้นแบบมาจาก องค์กร CIA ของสหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการต่อต้านการทำรัฐประหารต่อ รัฐบาลของปาร์ค จุงฮี และปราบปรามศัตรูที่มีศักยภาพทั้งหมด ทั้งในประเทศและต่างประเทศ องค์กรนี้มีอำนาจสืบสวน และสามารถจับกุมกักขังทุกคน ที่ต้องสงสัยว่ามีการกระทำผิดกฎหมาย หรือเก็บงำความรู้สึกต่อต้านรัฐบาลทหาร ไม่เพียงเท่านั้นหน่วยสำนักข่าวกรองกลางเกาหลียังขยายอำนาจของตน เพื่อกิจการทางเศรษฐกิจ และต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุน จาก ปาร์ค และดำเนินการองค์กรโดยผู้นำหน่วยคนแรก คิมจอง[[:en:Kim อิลJong-pil|คิม จองพิล]] (หลานเขยของปาร์ค) ซึ่งเป็นหนึ่งในนักผู้วางแผนของการแผนการทำรัฐประหาร ในช่วงแรก องค์กร นี้มีหน้าที่เจรจาใน้กาหลีเหนือ ต่อมาเมื่ออำนาจของ ปาร์ค จุงฮี มากขึ้น KCIA ได้กลายมาเป็นองค์กรส่วนตัว ของประธานาธิบดี คอยสอดส่องดูแลและแทรกซึมเข้าไปในทุกวงการทั้งในและต่างประเทศ ในภายหลังองค์กรนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "Agency for National Security Planning''
สำนักข่าวกรองกลางเกาหลี (KCIA=Korea
Central Intelligence Agency) ถูกสร้างขึ้นเมื่อ 19 มิถุนายน ค.ศ.1961 ในสมัยของปาร์ค จุงฮี โดยมีต้นแบบมาจาก องค์กร CIA ของสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันการต่อต้านการทำรัฐประหาร รัฐบาลของปาร์ค จุงฮี และปราบปรามศัตรูที่มีศักยภาพทั้งหมด ในประเทศและต่างประเทศ มีอำนาจสืบสวน และสามารถจับกุมกักขังทุกคน ที่สงสัยว่ามีการกระทำผิดกฎหมาย หรือเก็บงำความรู้สึกต่อต้านรัฐบาลทหาร ไม่เพียงเท่านั้นหน่วยข่าวกรองกลางขยายอำนาจของตน เพื่อกิจการทางเศรษฐกิจ และต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุน จาก ปาร์ค และดำเนินการองค์กรโดยผู้นำหน่วยคนแรก คิมจอง อิล (หลานเขยของปาร์ค) เป็นหนึ่งในนักวางแผนของการทำรัฐประหาร ในช่วงแรก องค์กร นี้มีหน้าที่เจรจาใน้กาหลีเหนือ ต่อมาเมื่ออำนาจของ ปาร์ค จุงฮี มากขึ้น KCIA ได้กลายมาเป็นองค์กรส่วนตัว ของประธานาธิบดี คอยสอดส่องดูแลและแทรกซึมเข้าไปในทุกวงการทั้งในและต่างประเทศ ในภายหลังองค์กรนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "Agency for National Security Planning''
ทั้งนี้สหรัฐอเมริกา เกิดความกังวล เกี่ยวกับ ปาร์ค ที่จะดำเนินการลับกับพรรคคอมมิวนิสต์ นายทหารชาวอเมริกัน James Hausman ได้บินไปวอชิงตัน ด้วยการสนับสนุนจากสถานทูตสหรัฐในกรุงโซล เจ้าหน้าที่ระดับสูงกล่าวว่ามีเหตุสำหรับความกังวลใจ เกี่ยวกับ ปาร์ค อย่างไรก็ตาม ปาร์ค ไม่ได้เป็นคนที่สหรัฐฯจะให้การรับรองที่จะ เป็นผู้นำคนต่อไปของเกาหลี
ป.ล.ซึ่ง ปาร์ค ใช้อำนาจที่มีอยู่ในมือจากหน่วยข่าวกรองกลาง ดั่งเผด็จการ โดยใช้อำนาจของตนเพื่อกิจการทางเศรษฐกิจ โดยได้ทำการจับกุมนักธุรกิจ รวมถึง นักการเมือง ที่มีพฤติกรรมในการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงผู้ครอบครองทรัพย์สินและร่ำรวยอย่างผิดปกติ มาบังคับให้จ่ายค่าปรับ ซึ่งนอกจากจะเป็นทรัพย์สินเงินทอง ยังเป็นหุ้นจากธนาคารพาณิชย์ ทำให้รัฐบาลมีทุนและสามารถควบคุมธนาคารพาณิชย์ ให้มาร่วมมือสนับสนุนการลงทุนตามนโยบายรัฐบาล นอกจากเหนือจากนั้น ปาร์ค ยังเข้าทำการยึดอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น ในสมัยที่มาปกครองเกาหลี มาเป็นของรัฐและมอบให้เอกชนที่ปาร์ค คัดเลือกมารับช่วงต่อไปดำเนินการ โดยมีรัฐบาลค้ำประกัน
 
ป.ล.ซึ่งในช่วงแรก องค์กรนี้มีหน้าที่เจรจาในเกาหลีเหนือ ต่อมาเมื่ออำนาจของปาร์ค จุงฮีมีมากขึ้น KCIA ได้กลายมาเป็นองค์กรส่วนตัวของประธานาธิบดี มีหน้าที่คอยสอดส่องดูแลและแทรกซึมเข้าไปในทุกวงการทั้งในและต่างประเทศ ปาร์คใช้อำนาจที่มีอยู่ในมือจากหน่วยของสำนักข่าวกรองกลาง ดั่งอย่างเผด็จการ โดยมีการใช้อำนาจของตนเพื่อกิจการทางเศรษฐกิจ โดยได้ทำการจับกุมนักธุรกิจ รวมถึง นักการเมือง ที่มีพฤติกรรมในการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมถึงผู้ครอบครองทรัพย์สินและร่ำรวยอย่างผิดปกติ มาบังคับให้จ่ายค่าปรับ ซึ่งนอกจากจะเป็นทรัพย์สินเงินทอง ยังเป็นหุ้นจากธนาคารพาณิชย์ ทำให้รัฐบาลมีทุนและสามารถควบคุมธนาคารพาณิชย์ ให้มาร่วมมือสนับสนุนการลงทุนตามนโยบายของรัฐบาล นอกจากเหนือจากนั้น ปาร์ค ยังเข้าทำการยึดอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น ในสมัยที่มาปกครองเกาหลี มาเป็นของรัฐและมอบให้เอกชนที่ปาร์ค คัดเลือกมารับช่วงต่อไปดำเนินการ ต่อไปโดยมีรัฐบาลค้ำประกัน ภายหลังองค์กรนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "[[:en:National Intelligence Service (South Korea)|Agency for National Security Planning]]''
แนวความคิดในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ของ ปาร์ค มาจากประสบการณ์ของเขา ที่ได้รับมาในกองทัพญี่ปุ่น ด้วยการวางแผนและใช้อำนาจควบคุมจากส่วนกลาง และใช้อำนาจเด็ดขาดในการควบคุม ซึ่งการพัฒนาทางเศรษฐกิจของ ปาร์ค เป็นแบบอย่างที่เพิ่มเติมขึ้น ซึ่งเป็นแบบอย่างที่เกี่ยวกับยุค"เมจิ" ของประเทศญี่ปุ่น
 
ปาร์ค ได้จัดตั้ง 4 หน่วยงานไว้กำกับดูแล เพื่อความมีประสิทธิภาพ ของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ทั้งนี้อย่างไรก็ตาม สหรัฐอเมริกา เกิดความกังวล เกี่ยวกับ ปาร์ค ที่จะดำเนินการลับกับพรรคคอมมิวนิสต์ นายทหารชาวอเมริกัน James Hausman ได้บินไปกรุงวอชิงตัน ด้วยการสนับสนุนจากสถานทูตสหรัฐในกรุงโซล เจ้าหน้าที่ระดับสูงกล่าวว่ามีเหตุสำหรับความกังวลใจ เกี่ยวกับ ปาร์ค อย่างไรก็ตามทั้งนี้ ปาร์ค ไม่ได้เป็นคนที่สหรัฐฯสหรัฐอเมริกาจะให้การรับรองที่จะ เป็นผู้นำคนต่อไปของเกาหลี
 
===นโยบายด้านเศรษฐกิจ===
แนวความคิดในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ของ ปาร์ค มาจากประสบการณ์ของเขา ที่ได้รับมาในจากกองทัพญี่ปุ่น ด้วยการวางแผนและใช้อำนาจควบคุมจากส่วนกลาง และใช้อำนาจเด็ดขาดในการควบคุม ซึ่งปาร์คได้จัดตั้ง 4 หน่วยงานไว้กำกับดูแลเพื่อความมีประสิทธิภาพของการพัฒนาทางเศรษฐกิจของ ปาร์ค เป็นแบบอย่างที่เพิ่มเติมขึ้น ซึ่งเป็นแบบอย่างที่เกี่ยวกับยุค"เมจิ" ของประเทศญี่ปุ่นได้แก่
*1. คณะกรรมการการวางแผนเศรษฐกิจ (EPB)
*2. กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม (MTI)
เส้น 138 ⟶ 139:
การแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ผู้ดำรงประธานาธิบดีไม่มีหมดวาระ สามารถครองอำนาจในการบริหารประเทศได้ตลอดการ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 1979
ทำให้เกิดการประท้วงปะทุขึ้นทั่วประเทศ ความไม่สงบรุนแรงเกิดขึ้น เมื่อกลุ่มนักศึกษาเรียกร้องให้มีการสิ้นสุดของการปกครองด้วยระบบ Yushin เริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติปูซาน. การกระทำซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ การต่อต้าน "Pu-Ma" (ชื่อพื้นที่ เขต ปูซานและ Masan ) บนท้องถนนของเมือง ที่นักศึกษาและตำรวจปราบจลาจลเผชิญหน้ากัน โดยมีนักศึกษา 50,000 คนมารวมตัวกันในเมืองปูซาน
ต่อมาอีกสองวันหลายคนถูกทำร้ายและผู้ประท้วงประมาณ 400 คนถูกจับ. เมื่อวันที่ 18 ตุลาคมรัฐบาล ปาร์ค ประกาศกฎอัยการศึกในปูซาน การประท้วงในวันเดียวกันกับที่แพร่กระจายไปยังมหาวิทยาลัย Kyungnam ใน Masan มีผู้ชุมนุม 10,000 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาและคนงาน เข้าร่วมการประท้วงต่อต้านระบบ Yushin ของ ปาร์ค ความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยการโจมตีที่สถานีตำรวจและ สำนักงานของพรรคการเมือง โดยมีการประกาศเคอร์ฟิวทั่วทั้งเมือง Masan.
 
การบริหารประเทศของ ปาร์ค ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ อย่างหนัก หนึ่งในกรณีที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ การจัดเก็บภาษีด้วยกฎอัยการศึก นอกจากนี้
 
==การถึงแก่อสัญกรรม==