ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเย็น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.Big Bean (คุย | ส่วนร่วม)
Mr.Big Bean (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
==เริ่มต้นของสงครามเย็น (ค.ศ. 1947-1950) ==
[[ไฟล์:Berlin Blockade Milk.jpg|thumb|150px|นักบินกำลังลำเลียงขนมขึ้นเครื่องบินที่ส่งไปช่วยเหลือชาว[[เบอร์ลินตะวันตก]]ในช่วง[[การปิดกั้นเบอร์ลิน|ปิดล้อมเบอร์ลิน]]]]
ระยะแรกของสงครามเย็นเริ่มในสองปีให้หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติใน ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตรวบการควบคุมเหนือรัฐใน[[กลุ่มตะวันออก]] โดยสหภาพโซเวียตได้นำกองทัพเข้ารัฐประหารประเทศต่างๆกลุ่มตะวันออกและพยายามเข้าแทรกแซงทางการเมืองในกรีซและตรุกี ขณะที่สหรัฐอเมริกาเริ่มได้เริ่ม[[ลัทธิทรูแมน]]คือการจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาทั่วโลกเพื่อท้าทายโซเวียต โดย[[แผนมาร์แชลล์]]ขยายความช่วยเหลือทางทหารและการเงินแก่ประเทศยุโรปตะวันตก (ตัวอย่างเช่น การสนับสนุนฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองกรีซ) การตั้งพันธมิตร[[นาโต้]]
 
จากนั้นสหภาพโซเวียตได้[[การปิดกั้นเบอร์ลิน|ปิดล้อมเบอร์ลิน]] ไม่ให้[[กลุ่มตะวันตก]]เข้าช่วยเหลือชาว[[เบอร์ลินตะวันตก]] โดยหวังว่าจะให้ชาวเบอร์ลินตะวันตกจะมาร่วมกับ[[เบอร์ลินตะวันออก]] แต่กลุ่มตะวันตกได้ส่งของทางอากาศช่วยเหลือชาว[[เบอร์ลินตะวันตก]] [[สหภาพโซเวียต|โซเวียต]]เห็นว่าไม่ได้ผลจึงยกเลิกการปิดกั้นให้กลุ่มตะวันตกเข้ามา{{อ้างอิง}}
 
==วิกฤตการณ์(ค.ศ. 1950-1975) ==
[[ไฟล์:U2 Image of Cuban Missile Crisis.jpg|right|thumb|ภายถ่ายจากการบินสอดแนมของยู-2 แสดงให้เห็นขีปนาวุธนิวเคลียร์ในคิวบา ในภาพจะมีรถขนส่งและเต็นท์เชื้อเพลิง]]
ด้วยชัยชนะของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในสงครามกลางเมืองจีนและการอุบัติของ[[สงครามเกาหลี]] (ค.ศ. 1950–53) ความขัดแย้งขยายตัว สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาแข่งขันชิงอิทธิพลในละตินอเมริกาและรัฐแอฟริกา ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับปลดปล่อยอาณานิคม ขณะเดียวกัน [[การปฏิวัติฮังการี]] ค.ศ. 1956 ถูกโซเวียตหยุดยั้ง การขยายและบานปลายจุดประกายวิกฤตการณ์เพิ่มอีก เช่น [[วิกฤตการณ์สุเอซ]] (ค.ศ. 1956) [[วิกฤตการณ์เบอร์ลิน]] ค.ศ. 1961 และ[[วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา]] ค.ศ. 1962

หลังความขัดแย้งสุดท้ายนี้ก็เริ่มระยะใหม่ซึ่งมีความแตกแยกจีน–โซเวียตทำให้ความสัมพันธ์ภายในเขตคอมมิวนิสต์ซับซ้อนยิ่งขึ้น ขณะที่พันธมิตรของสหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศฝรั่งเศส แสดงอิสระในการปฏิบัติมากขึ้น สหภาพโซเวียตปราบปรามโครงการเปิดเสรี[[ปรากสปริง]] ค.ศ. 1968 ในเชโกสโลวาเกีย และ[[สงครามเวียดนาม]] (ค.ศ. 1955–1975) ยุติลงด้วยความปราชัยของ[[สาธารณรัฐเวียดนามใต้]]ที่สหรัฐหนุนหลัง ทำให้มีการปรับแก้เพิ่ม
 
==การผ่อนคลายครั้งแรก (ค.ศ. 1974-1979) ==
เส้น 38 ⟶ 40:
 
==การผ่อนคลายครั้งสองและสิ้นสุดสงครามเย็น (ค.ศ. 1985-1991)==
[[File:Photograph of President Reagan and Vice-President Bush meeting with General Secretary Gorbachev on Governor's Island... - NARA - 198595.jpg|thumb|left|ประธานาธิบดี[[โรนัลด์ เรแกน|เรแกน]]และรองประธานาธิบดี[[จอร์จ เอช. ดับเบิลยู.บุช|บุช]]และประธานาธิบดี[[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ|กอร์บาชอฟ]], นิวยอร์กซิตี้, 7 ธันวาคม 1987]]
เป็นช่วงปลายสงครามเย็น สหภาพโซเวียตกำลังประสบภาวะเศรษฐกิจซบเซาอยู่แล้ว ในกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผู้นำโซเวียตคนใหม่ มีฮาอิล กอร์บาชอฟ ริเริ่มการปฏิรูปเปิดเสรี[[เปเรสตรอยคา]] (ค.ศ. 1987) และ[[กลัสนอสต์]] (ประมาณ ค.ศ. 1985) และยุติการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในอัฟกานิสถานของโซเวียต การสนธิสัญญาควบคุมขีปนาวุธ INF การกดดันเรียกร้องเอกราชของชาติยิ่งเติบโตขึ้นในยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศโปแลนด์ ฝ่ายกอร์บาชอฟไม่ยอมใช้ทหารโซเวียตเพื่อค้ำจุดระบอบสนธิสัญญาวอร์ซอที่ไม่มั่นคงดังที่เคยเป็นในอดีต ผลลงเอยด้วยใน ค.ศ. 1989 เกิดคลื่นปฏิวัติซึ่งโค่นระบอบคอมมิวนิสต์ทั้งหมดในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก พรรคคอมมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเองเสียการควบคุมและถูกห้ามหลัง[[ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534|ความพยายามรัฐประหาร]]อันไร้ผลในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 แล้วนำไปสู่[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต|การยุบสหภาพโซเวียต]]อย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 และการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในประเทศอื่นอย่างประเทศมองโกเลีย กัมพูชาและเยเมนใต้ สหรัฐเหลือเป็นประเทศอภิมหาอำนาจของโลกแต่ผู้เดียว
เป็นช่วงปลายสงครามเย็น สหภาพโซเวียตกำลังประสบภาวะเศรษฐกิจซบเซาอยู่แล้ว ในกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผู้นำโซเวียตคนใหม่ [[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]] ริเริ่มการปฏิรูปเปิดเสรี[[เปเรสตรอยคา]] (ค.ศ. 1987) และ[[กลัสนอสต์]] (ประมาณ ค.ศ. 1985) ยุติการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องใน[[สงครามโซเวียตในอัฟกานิสถาน]] และการสนธิสัญญาควบคุมขีปนาวุธ INF
 
การกดดันเรียกร้องเอกราชของชาติยิ่งเติบโตขึ้นในยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศโปแลนด์ ฝ่ายกอร์บาชอฟไม่ยอมใช้ทหารโซเวียตเพื่อค้ำจุดระบอบสนธิสัญญาวอร์ซอที่ไม่มั่นคงดังที่เคยเป็นในอดีต ผลลงเอยด้วยใน ค.ศ. 1989 เกิดคลื่นปฏิวัติซึ่งโค่นระบอบคอมมิวนิสต์ทั้งหมดในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก
 
พรรคคอมมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเองเสียการควบคุมและถูกห้ามหลัง[[ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534|ความพยายามรัฐประหาร]]อันไร้ผลในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 แล้วนำไปสู่[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต|การยุบสหภาพโซเวียต]]อย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 และการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในประเทศอื่นอย่างประเทศมองโกเลีย กัมพูชาและเยเมนใต้ สหรัฐเหลือเป็นประเทศอภิมหาอำนาจของโลกแต่ผู้เดียว
 
== คู่สงคราม ==