ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาทิลาเพีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
|จำนวนหน้า=116
}}
</ref>การเพาะพันธุ์ปลานิลในประเทศไทยเริ่มมีการบันทึกสถิติในปี ค.ศ. 1974 นับจากนั้นมา ปลานิลหน้าฟาร์มได้สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรไม่น้อยกว่า 107,000 ล้านบาท จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยมีการผลิตปลานิลไม่น้อยกว่า 220,000 ตันต่อปี คิดเป็นมูลค่าหน้าฟาร์ม 12,000 ล้านบาท ปลานิลยังเป็นปลาน้ำจืดเพื่อการส่งออกที่มีศักยภาพสูงกว่าปลาชสูงกว่าปลาชนิดอื่น ในปี ค.ศ. 2006 [[องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ]] (FAO) รายงานว่า ประเทศไทยสามารถผลิตปลานิลได้เป็นอันดับที่ 4 ของภูมิภาคเอเชีย รองลงมาจากประเทศจีน, ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย<ref>หน้า 8 ข่าวเศรษฐกิจไทยรัฐ, ''ในหลวงผู้ทรงงานหนักตลอดการครองราชย์ 70 ปี'' โดย ทีมเศรษฐกิจ. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 67 ฉบับที่ 21356: วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก</ref>
 
และบางชนิดได้ถูกนำเข้ามาในฐานะ[[ปลาสวยงาม]] เช่น [[ปลาหมอบัตเตอร์]] (''Heterotilapia buttikoferi'')<ref>{{cite web |url=http://www.aquaticcommunity.com/tilapia/aquariums.php|title=Keeping Tilapia in Aquariums |year=2008 |work=Tilapia |publisher=AC Tropical Fish |accessdate=2009-01-19}}</ref> และด้วยความที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ได้ง่าย จึงกลายมาเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศต่าง ๆ<ref name="daff"/> ในฐานะ[[สัตว์น้ำ#สัตว์น้ำต่างถิ่น|ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น]] เช่น สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย<ref name="daff">{{cite web|url=http://www.daff.qld.gov.au/fisheries/pest-fish/noxious-fish/tilapia|title=Tilapia|publisher=Department of Agriculture, Fisheries and Forestry}}</ref> รวมถึงประเทศไทย<ref name="ชว"/>