ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมพาลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
* ''A. m. petersi'' <small>Lichtenstein, 1812</small>
| range_map= Impala.png
| range_map_caption=[[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์ ([[สีน้ำเงิน]]-อิมพาลาหน้าดำ, [[สีแดง]]-อิมพาลาธรรมดา)
| binomial = ''Aepyceros melampus''
| binomial_authority = ([[Martin Lichtenstein|Lichtenstein]], [[ค.ศ. 1812|1812]])
บรรทัด 38:
อิมพาลาเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับ[[แอนทิโลป]] มีถิ่นกำเนิดใน[[ทวีปแอฟริกา]]ตั้งแต่ใต้[[เส้นศูนย์สูตร]]ลงมา มีรูปร่างสวยงามได้สัดส่วน ขนมี[[สีน้ำตาล]][[แดง]]มันเป็นเงา บริเวณใต้คาง ลำคอ และด้านท้องเป็น[[สีขาว]] แต่มีลักษณะเด่น คือ ริ้วขน[[สีดำ]]ตรงบริเวณด้านหลังขาอ่อนและปอยขนสีดำตรงบริเวณสันหลังของขาหลัง [[ตัวผู้]]จะมีเขาที่สวยงามคดโค้งเป็นเกลียวคล้ายตัว[[s|เอส]] ส่วน[[ตัวเมีย]]จะไม่มีเขา และมีขนาดลำตัวเล็กกว่า
 
อิมพาลากระจายพันธุ์อยู่ใน[[ทุ่งหญ้าสะวันนา]] ซึ่งเป็น[[ทุ่งหญ้า]]ใน[[เขตร้อน]]ที่มีลักษณะเป็นที่ราบและมี[[ต้นไม้]]ขึ้นประปราย โดยจะอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ สมาชิกในฝูงจะมีปะปนกันทั้งตัวผู้และตัวเมียที่ยังเล็ก จำนวนประมาณ 15-15–25 ตัว โดยมีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง ในช่วง[[ฤดูแล้ง]] ที่อาหารขาดแคลน ทั้งตัวผู้และตัวเมียที่โตเต็มที่แล้วจะมาชุมนุมกันเป็นฝูงใหญ่นับร้อยตัว ซึ่งในการชุมนุมแต่ละครั้ง อิมพาลาจะมีพฤติกรรมประการหนึ่งที่ยังอธิบายสาเหตุไม่ได้ คือ จะ[[กระโดด]]สูง โดยสามารถกระโดดได้สูงถึง 30 [[ฟุต]] อิมพาลาตัวที่โตเต็มวัยกระโจนได้ไกลถึง 10 เมตร และวิ่งได้เร็วถึง 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง<ref>''สามเหลี่ยมโอคาแวนโก ตอนที่ 4'', สุดหล้าฟ้าเขียว. สารคดีโดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3: เสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556</ref>
 
อิมพาลา ถูกแบ่งออกได้เป็น 6 ชนิดย่อย แต่มี 2 ชนิดย่อยที่ได้รับการรับรอง โดยพิจารณาจากความแตกต่างกันของ[[ดีเอ็นเอ]]<ref>LOUISE GRAU NERSTING and PETER ARCTANDER: ''Phylogeography and conservation of impala and greater kudu''. Molecular Ecology (2001) 10 , 711–719</ref> คือ