ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิฟาสซิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Fascist symbol.svg|thumb|150px|สัญลักษณ์ของลัทธิฟาสซิสต์]]
 
'''ลัทธิฟาสซิสต์''' ({{lang-en|Fascism}}) เป็น[[ชาตินิยม|ชาติ]]-[[ลัทธิอำนาจนิยม|อำนาจนิยม]]มูลวิวัติรูปแบบหนึ่ง<ref name="authoritarian">Turner, Henry Ashby, ''Reappraisals of Fascism''. New Viewpoints, 1975. p. 162. States fascism's "goals of radical and authoritarian nationalism".</ref><ref name="authoritarianism">Larsen, Stein Ugelvik, Bernt Hagtvet and Jan Petter Myklebust, ''Who were the Fascists: Social Roots of European Fascism'', p. 424, "organized form of integrative radical nationalist authoritarianism"</ref> ซึ่งมีความโดดเด่นในทวีปยุโรปช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ขบวนการฟาสซิสต์รุ่นแรก ๆ กำเนิดขึ้นในประเทศอิตาลีราว[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] โดยได้รับอิทธิพลจาก[[national syndicalism|สหการนิยมชาติ]] (national syndicalism) การรวมจุดยืน[[ฝ่ายขวา (การเมือง)|ฝ่ายขวา]]โดยทั่วไปเข้ากับ[[ฝ่ายซ้าย (การเมือง)|การเมืองฝ่ายซ้าย]]บางส่วน ซึ่งตรงกันข้ามกับ[[คอมมิวนิสต์]] [[สังคมนิยม]] [[เสรีประชาธิปไตย]] และ[[อนุรักษนิยม]]ดั้งเดิม แม้ว่าโดยปกติลัทธิฟาสซิสต์จะถูกจัดเป็น "ขวาจัด" ตามการแบ่ง[[ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา|พิสัยมโนคติทางการเมืองแบบซ้าย–ขวา]] (political spectrum) ดั้งเดิม พวกฟาสซิสต์เองและนักวิจารณ์บางส่วนแย้งว่าคำอธิบายนี้ไม่เพียงพอ<ref name="university">Roger Griffin. ''Fascism''. Oxford, England, UK: Oxford University Press, 1995. pp. 8, 307.</ref><ref name="aristotle">Aristotle A. Kallis. ''The fascism reader''. New York, New York, USA: Routledge, 2003. p. 71</ref>
 
นักฟาสซิสต์มุ่งรวมชาติของพวกตนผ่านรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จที่สนับสนุนการระดมชุมชนชาติอย่างกว้างขวาง<ref name="gj120">Grčić, Joseph. ''Ethics and Political Theory'' (Lanham, Maryland: University of America, Inc, 2000) p. 120</ref><ref name="encyclopedia">Blamires, Cyprian, ''World Fascism: a Historical Encyclopedia, Volume 1'' (Santa Barbara, California: ABC-CLIO, Inc., 2006) p.&nbsp;140–141, 670.</ref> และมีลักษณะเด่นโดยมี[[พรรคแนวหน้า]] (vanguard party) ซึ่งริเริ่มขบวนการการเมืองปฏิวัติโดยมุ่งหมายเพื่อจัดระเบียบชาติใหม่ตามหลักการของอุดมการณ์ลัทธิฟาสซิสต์<ref name="eatwell">Eatwell, Roger, ''Fascism: a History'' (Allen Lane, 1996) p. 215.</ref> ขบวนการฟาสซิสต์ทั้งหลายมีลักษณะร่วมบางอย่าง รวมทั้งความเคารพรัฐ การอุทิศให้แก่ผู้นำที่เข้มแข็ง และการเน้น[[ความคลั่งชาติ]] (ultranationalism) และ[[แสนยนิยม]] ลัทธิฟาสซิสต์มองการเมือง ความรุนแรง สงครามและ[[จักรวรรดินิยม]]ว่าเป็นวิธีการบรรลุการฟื้นพลังของชาติ<ref name="gj120"/><ref name="routledge">Griffin, Roger and Matthew Feldman, eds., ''Fascism: Fascism and Culture'' (London and New York: Routledge, 2004) p. 185.</ref><ref name="Stanley G. Payne 1945. p. 106">Stanley G. Payne. A History of Fascism, 1914–1945. p. 106.</ref><ref>Jackson J. Spielvogel. ''Western Civilization''. Wadsworth, Cengage Learning, 2012. p. 935.</ref> และยืนยันว่าชาติที่เข้มแข็งกว่ามีสิทธิที่จะขยายอาณาเขตโดยเข้าแทนที่ชาติที่อ่อนแอกว่า<ref>Cyprian P. Blamires. World Fascism: A Historical Encyclopedia, Volume 2. Santa Barbara, California, USA: ABC-CLIO, 2006. p. 331.</ref>
 
อุดมการณ์ลัทธิฟาสซิสต์อ้างความสำคัญสูงสุดของรัฐอย่างต่อเนื่อง ผู้นำอย่าง[[เบนิโต มุสโสลินี]]ในอิตาลี และ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ในเยอรมนี รวมรัฐและอ้างอำนาจที่แย้งไม่ได้ ลัทธิฟาสซิสต์ยืมทฤษฎีและศัพท์จาก[[สังคมนิยม]] แต่แทนที่การมุ่งไปยังความขัดแย้งทางชนชั้นของสังคมนิยมด้วยการมุ่งไปยังความขัดแย้งระหว่างชาติและเชื้อชาติ
<ref name="Griffin, Roger 1991 pp. 222-223">Griffin, Roger. ''The Nature of Fascism'' (New York: St. Martins Press, 1991) pp. 222–223.</ref> ลัทธิฟาสซิสต์นั้นสนับสนุน[[ระบบเศรษฐกิจแบบผสม]] โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อบรรลุ[[การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ]]เพื่อให้ชาติมีเอกราชผ่านนโยบายเศรษฐกิจแบบ[[ลัทธิคุ้มครอง|คุ้มครอง]]และมีการแทรกแซงจากรัฐ<ref name="Blamires, Cyprian 2006 p. 188-189">Blamires, Cyprian, ''World Fascism: a Historical Encyclopedia, Volume 1'' (Santa Barbara, California: ABC-CLIO, Inc., 2006) p.&nbsp;188–189.</ref>
 
หลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] มีพรรคการเมืองน้อยพรรคที่อธิบายตนเองอย่างเปิดเผยว่าเป็นฟาสซิสต์ และคู่แข่งทางการเมืองมักใช้คำนี้เป็นคำหยาบ บางครั้งคำว่า[[ลัทธิฟาสซิสต์ใหม่]]หรือหลังลัทธิฟาสซิสต์ใช้อย่างเป็นทางการเพื่ออธิบายพรรคการเมืองขวาจัดที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงหรือมีรากมาจากขบวนการฟาสซิสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
== ที่มาของชื่อ ==
ใน[[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]]เรียกการปกครองแบบนี้ว่า ''ฟาซิโอ'' เป็นภาษาละติน แปลว่า สหภาพ หรือ สมาชิก ทั้งยังแปลได้อีกว่าเป็นแขนงไม้ที่พันรอบขวาน (มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน โดยเรียกว่า ฟาสเซส (fasces) ถือโดยลิคเตอร์ (lictor) ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีหน้าที่ในการดูแลความสงบเรียบร้อย)
 
ลัทธิฟาสซิสต์เป็นชื่อของอาณาจักร[[โรมัน]]สมัยก่อน มันคือไม้เมื่อไม้มีอยู่แท่งเดียวก็จะหักได้ง่าย แต่เมื่อนำไม้มารวมกันนั้นจะหักได้ยากมาก เหมือนกับเมื่อชาติมีประชาชนมารวมกันก็จะทำให้ชาติแข็งแกร่งไร้เทียมทาน แต่กลายเป็นว่าลัทธิฟาสซิสต์ ไม่ได้แข็งแกร่งเท่าที่ควรเพราะประชาชนเบื่อกับการทำงาน การทำสงคราม และการปฏิวัติของลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งทำให้ลัทธิฟาสซิสต์สิ้นสุดในปี [[พ.ศ. 2486]]
 
== อ้างอิง ==