ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นทางสายไหม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
ผู้ค้าหลักระหว่างยุคโบราณ คือ ชาวจีน เปอร์เซีย กรีก ซีเรีย โรมัน อาร์มีเนีย อินเดียและแบกเตรีย (Bactrian) และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 8 เป็นชาวซอกเดีย (Sogdian) ระหว่างการเจริญของศาสนาอิสลาม พ่อค้าอาหรับกลายมาโดดเด่น
 
ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 38 พ.ศ.2557 ณ กรุงโดฮา ประเทศ[[กาตาร์]] มีมติให้เส้นทางสายไหม ขึ้นทะเบียนเป็น'''[[มรดกโลก]]''' ภายใต้ชื่อ '''เส้นทางสายไหม เส้นทางฉางอาน-เทียนซาน''' โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 3 ประเทศ คิือ ประเทศ [[จีน]] [[คาซัคสถาน]] และ [[คีร์กีซสถาน]] โดยให้เหตุผลว่า เส้นทางนี้เป็นที่ยอมรับกันว่ามรดกของมนุษยชาติด้านความศิวิไลซ์ ในฐานะเป็นเส้นทางโบราณในการติดต่อค้าขายและสื่อสารระหว่างตะวันและตะวันตก
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}