ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่สตาลินกราด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ardol67 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพิ่มเนื้อหาและเก็บกวาดบทความ
บรรทัด 11:
* [[ไฟล์:Flag of Romania.svg|22px]] [[โรมาเนีย]]
* [[ไฟล์:Flag of Italy (1861-1946).svg|22px]] [[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|อิตาลี]]
* [[ไฟล์:Flag of Hungary 1940.svg|20px]] [[ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920-1946)|ฮังการี]]
* [[ไฟล์:Flag of Independent State of Croatia.svg|22px]] [[โครเอเชีย]]
}}
บรรทัด 100:
}}
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
'''ยุทธการสตาลินกราด''' เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่ง[[นาซีเยอรมนี]]และพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ [[โววอลโกกราด]] ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ[[สหพันธรัฐรัสเซีย]]) นาซีเยอรมนีมีจุดประสงค์ในการเข้ายึดครองคือเข้ายึดศูนย์กลางโรงงานผลิตการสงครามของโซเวียต, เพื่อใช้เป็นฐานทัพในการเข้ายึดบ่อน้ำมันในเทือกเขาคอเคซัสจากภาคใต้ และทำลายขวัญกำลังใจของกองทัพแดง ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1942 ถึง 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943<ref>McDougal Littell, (2006)</ref><ref>Roberts (2006: 143)</ref><ref>Biesinger (2006: 699)</ref><ref>{{cite book|title=Encyclopædia Britannica|chapter=Battle of Stalingrad}}</ref> ยุทธการสตาลินกราดเป็นยุทธการใหญ่ที่สุดบนแนวรบด้านตะวันออก และได้รับความสนใจเพราะความป่าเถื่อนและไม่สนใจต่อความสูญเสียทั้งทางทหารและพลเรือน นอกจากนี้ ยังเป็นหนึ่งในยุทธการนองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์การสงคราม โดยมีการประเมินความสูญเสียทั้งสองฝ่ายรวมกันขั้นสูงไว้เกือบสองล้านนาย ความสูญเสียอย่างหนักที่กองทัพเยอรมนีประสบนับเป็นจุดพลิกผันของสงคราม<ref>Taylor (1998) Vol IV, p. 142</ref> หลังยุทธการสตาลินกราด กำลังเยอรมันไม่อาจฟื้นคืนยอดอย่างเมื่อก่อนได้อีก และไม่บรรลุชัยชนะทางยุทธศาสตร์ในทางตะวันออกอีกเลย<ref name="Bellamy2007">Bellamy, (2007)</ref>
 
เยอรมนีรุกเพื่อยึดสตาลินกราดเริ่มตั้งแต่ปลายฤดูร้อน ค.ศ. 1942 และได้รับการสนับสนุนจากการทิ้งระเบิดโดย[[กองทัพอากาศ]]อย่างเข้มข้น ซึ่งทำให้พื้นที่ขนาดใหญ่ของนครกลายเป็นซากปรักหักพัง ท้ายที่สุด การรุกของเยอรมนีกลายมาติดหล่มการสู้รบอาคารต่ออาคาร และแม้จะควบคุมพื้นที่ของนครได้กว่า 90% ในบางครั้ง กองทัพเยอรมันกลับไม่สามารถขับไล่ผู้ป้องกันฝ่ายโซเวียตกลุ่มสุดท้ายที่ยึดฝั่งตะวันตกของ[[แม่น้ำโวลกา]]อย่างเหนียวแน่น