ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามกีฬาฌอฟรัว กีชาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Earthpanot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
|caption =
|fullname = สตาดฌอฟรัว-กีชาร์
|location = [[แซ็งเตเตียน]], [[จังหวัดลัวร์]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
|coordinates = {{coord|45|27|39|N|4|23|25|E|type:landmark_scale:2000|display=it}}
|built = .ศ. 24731930
|opened = 13 กันยายน .ศ. 24741931
|renovated = .ศ. 2526–25271983–84, .ศ. 2539–25411996–98, .ศ. 2554–25572001–11
|closed =
|demolished =
บรรทัด 18:
|architect =
|former_names =
|tenants = [[สโมสรฟุตบอลแซ็งเตเตียน|แซ็งเตเตียน]]
|seating_capacity = 42,000 คน<ref>http://www.asse.fr/fr/Supporters-7/Saison-2014-2015/Allez-au-stade-48</ref>
|dimensions =
|}}
 
'''สตาดฌอฟรัว-กีชาร์''' ({{lang-fr|Stade Geoffroy-Guichard}}) เป็น[[สนามกีฬา]] ในเมือง[[แซ็งเตเตียน]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมือง<ref name="sohkW"/> โดยใช้งานจัดการแข่งขัน[[ฟุตบอล]]เป็นหลัก โดยเคยจัดการแข่งขัน[[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984]], [[ฟุตบอลโลก 1998]], [[คอนเฟเดอเรชันส์คัพ]] 2003 และจัดการแข่งขัน [[ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016]] อีกทั้งยังใช้จัดการแข่งขัน[[รักบี้ยูเนียน]] โดยเป็นสนามแข่งขัน[[รักบี้ชิงแชมป์โลก]] 2007 สนามนี้มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการคือ "เลอโชดรอน" หรือ "แลนเฟอร์เวอร์ต" ซึ่งหมายถึงสีชุดแข่งขันของ[[สโมสรฟุตบอลแซ็งเตเตียน|แซ็งเตเตียน]] ซึ่งสโมสรฟุตบอลประจำเมืองที่ได้ใช้สนามนี้เป็นสนามเหย้าด้วย เคยได้รับความนิยมมากในปี .ศ. 25281985 ด้วยผู้ชมที่มากกว่า 47,000 ในสนามแห่งนี้ แต่ในปัจจุบันสามารถจุผู้ชมได้ 35,616 คน ก่อนจากการปรับปรุงครั้งล่าสุดที่เริ่มในปี .ศ. 25542011 และปรับให้เหลือ 26,747 ที่นั่งชั่วคราว แต่เมื่อปรับปรุงเสร็จ สนามนี้จะสามารถจุผู้ชมได้ 42,000 คน
<ref>http://www.worldofstadiums.com/europe/france/stade-geoffroy-guichard/</ref>
 
สนามได้เปิดใช้งานครั้งแรกในวันที่ 13 กันยายน .ศ. 24741931 และ แซ็งเตเตียนลงแข่งขันครั้งแรกในวันที่ 17 กันยายน ซึ่งชื่อของสนามในปัจจุบันตั้งตามฌอฟรัว กีชาร์ ผู้ก่อตั้งธุรกิจคาสิโนที่เป็นผู้ซื้อพื้นที่ในช่วงที่ก่อสร้างสนาม โดยในการก่อสร้างช่วงแรกมีลานลู่สำหรับแข่งขัน[[กรีฑา]]ด้วย ก่อนที่จะถูกยกออกไปเมื่อปี ค.ศ. 1956 ในการปรับปรุงสนามใหม่ เพื่อที่จะให้ผู้ที่เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลเห็นการแข่งขันได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งก่อนใช้งานในมหกรรมการแข่งขันกีฬาแต่ละครั้ง จะมีการบูรณะและตกแต่งสนามใหม่ครั้งใหญ่ทุกครั้ง โดยพื้นสนามสร้างบนอุโมงค์เหมืองแร่เก่า และต่อมากลายเป็นโรงงานเหล็ก ทำให้ในช่วงเปิดใช้ระยะแรกมีกลุ่มควันจากปล่องไฟโรงงานปกคลุมไปทั่ว<ref name="sohkW">หน้า 20 กีฬา, ''สนามสตาด เจฟฟรัว กิซาร์''. "ตะลุยยูโร". '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,339: วันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2559 แรม 13 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก</ref>
 
== การแข่งขัน ==