ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชยสภา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ราชยสภา''' ({{lang-roman|Rajya Sabha}}; {{lang-hi|राज्यसभा ''Rājyasabhā''}} "สภาแห่งรัฐ") เป็น[[สภาสูง]]ของ[[รัฐสภาแห่งอินเดีย]] ประกอบด้วยสมาชิกราชยสภาจำนวนสองร้อยห้าสิบคน สิบสองคนในจำนวนนี้นเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมสงเคราะหศาสตร์ ซึ่งได้รับการคัดสรรโดย[[ประธานาธิบดีแห่งอินเดีย]]และได้รับสมญาว่า "สมาชิกคัดสรร" ส่วนสมาชิกที่เหลือแห่งราชยสภามาจากการเลือกตั้งโดย[[สภานิติบัญญัติ]]ประจำรัฐและดินแดนต่าง ๆ ของ[[ประเทศอินเดีย]] สมาชิกทุกคนอยู่ในตำแหน่งคราวละหกปี โดยจะมีการเลือกตั้งสมาชิกครึ่งหนึ่งทุก ๆ สองปี
 
ราชยสภาดำเนินสมัยประชุมอย่างไม่ขาดสาย และต่างจาก "[[โลกสภา]]" ("สภาแห่งประชาชน") หรือ[[สภาล่าง]]ของรัฐสภาแห่งอินเดีย ที่โลกสภาสามารถถูกยุบสภาได้ แต่ทั้งจะไม่มีการยุบราชยสภาและโลกสภานั้นบริหารยสภา อย่างไรก็ดี ประธานาธิบดีอินเดียมีอำนาจนิติบัญญัติร่วมกัน และในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ปัญหาเช่นว่านี้จะได้รับสั่งการตัดสินโดยที่ให้ระงับสมัยประชุมร่วมกันของรัฐสภาแห่งอินเดีย แต่โดยที่ราชยสภามีสมาชิกน้อยกว่าและโลกสภาถึงสองเท่าได้ทั้งคู่ จึงนับว่าโลกสภามีอำนาจมากกว่าในการประชุมร่วมกันดังกล่าว
 
ราชยสภาและโลกสภาบริหารอำนาจนิติบัญญัติร่วมกัน และในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านนิติบัญญัติ ปัญหาดังกล่าวนี้จะได้รับการตัดสินโดยที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาแห่งอินเดีย แต่โดยที่ราชยสภามีสมาชิกน้อยกว่าโลกสภาถึงสองเท่า จึงนับว่าโลกสภามีอำนาจมากกว่าในการประชุมร่วมกันดังกล่าว อย่างไรก็ดี การประชุมร่วมกันของสภาทั้งสองที่ประกอบขึ้นมาเป็นรัฐสภาอินเดียมีน้อยครั้งมาก
[[รองประธานาธิบดีแห่งอินเดีย]]เป็นนายกราชยสภาโดยตำแหน่ง ส่วนอุปนายกราชยสภานั้นเป็นสมาชิกราชยสภาคนหนึ่งที่ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกด้วยกันเอง และราชยสภานี้เปิดประชุมเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ตรงกับสมัย[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ของไทยพอดี
 
[[รองประธานาธิบดีแห่งอินเดีย]]เป็นนายกราชยสภาโดยตำแหน่ง ส่วนอุปนายกราชยสภานั้นเป็นสมาชิกราชยสภาคนหนึ่งที่ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกด้วยกันเอง และจะทำหน้าที่กำกับการบริหารและการทำงานตามปกติของราชยสภา รวมทั้งทำหน้าที่ประธานการประชุมในวาระเมื่อรองประธานาธิบดี (นายกราชยสภา) ไม่ได้มาปฏิบัติหน้าที่ ราชยสภานี้เปิดประชุมเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ตรงกับสมัย[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ของไทยพอดี
 
ราชยสภายังทำหน้าที่เป็น[[คณะกรรมการกฤษฎีกา]]ที่ให้คำปรึกษาทางกฎหมายแก่รัฐด้วย