ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวเคราะห์น้อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Hudsuwa (คุย | ส่วนร่วม)
ประวัติ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์: (253) mathilde.jpg|thumb|250px|ดาวเคราะห์น้อย [[253 แมธิลด์]] เป็นดาวเคราะห์น้อยแบบ C-Type]]
 
'''ดาวเคราะห์น้อย''' ({{lang-en|Asteroid}} หรือบางครั้งเรียกว่า Minor Planet / Planetoid) คือ[[วัตถุทางดาราศาสตร์]]ขนาดเล็กกว่า[[ดาวเคราะห์]] แต่ใหญ่กว่า[[สะเก็ดดาว]] (ซึ่งโดยปกติมักมีขนาดราว 10 เมตรหรือน้อยกว่า) <ref>Beech, M.; Steel, D. I. (September 1995). [http://adsabs.harvard.edu/cgi-bin/nph-bib_query?bibcode=1995QJRAS..36..281B&db_key=AST&data_type=HTML&format=&high=44b52c369007834 "On the Definition of the Term Meteoroid"]. ''Quarterly Journal of the Royal Astronomical Society'' '''36''' (3) : 281–284.</ref> และไม่ใช่[[ดาวหาง]] การแบ่งแยกประเภทเช่นนี้กำหนดจากภาพปรากฏเมื่อแรกค้นพบ กล่าวคือ ดาวหางจะต้องมีส่วนของโคม่าที่สังเกตเห็นได้ชัด และมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของดาวหางเอง ดาวเคราะห์น้อยมีลักษณะปรากฏคล้ายดวงดาว (คำว่า ''asteroid'' มาจากคำ[[ภาษากรีก]]ว่า ''αστεροειδής'' หรือ ''asteroeidēs'' ซึ่งหมายถึง "เหมือนดวงดาว" มาจากคำ[[ภาษากรีกโบราณ]]ว่า ''Aστήρ'' หรือ ''astēr'' ซึ่งแปลว่า ดวงดาว) และมีการกำหนดเรียกชื่ออย่างคร่าวๆ ตามชื่อปีที่ค้นพบ จากนั้นจึงมีการตั้งชื่อตามระบบ (เป็นหมายเลขเรียงตามลำดับ) และชื่อ ถ้ามีการพิสูจน์ถึงการมีอยู่และรอบการโคจรเรียบร้อยแล้ว สำหรับลักษณะทางกายภาพของดาวเคราะห์น้อยโดยส่วนใหญ่ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด
 
เส้น 6 ⟶ 5:
 
ดาวเคราะห์น้อยส่วนมากพบอยู่ใน[[แถบดาวเคราะห์น้อย]] ซึ่งมีวงโคจรเป็นวงรีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี เชื่อว่าดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่เป็นซากที่หลงเหลือใน[[จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด]] ซึ่งไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ได้ระหว่างการก่อกำเนิด[[ระบบสุริยะ]]เนื่องจากแรงโน้มถ่วงรบกวนจากดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์น้อยบางดวงมี[[ดาวบริวารดาวเคราะห์น้อย|ดาวบริวาร]] หรือโคจรระหว่างกันเองเป็นคู่ เรียกว่า [[ระบบดาวเคราะห์น้อยคู่]]
 
== ประวัติ ==
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==