ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งแยกนิวเคลียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
A876 (คุย | ส่วนร่วม)
replaced misleading graph.
บรรทัด 9:
นอกเหนือไปจากฟิชชันที่เกิดจากนิวตรอน ควบคุมและใช้ประโยชน์โดยมนุษย์แล้ว รูปแบบโดยธรรมชาติของ[[การสลายกัมมันตรังสี]]ที่เกิดขึ้นเอง (ไม่ต้องใช้นิวตรอน) จะยังถูกเรียกว่าฟิชชันเช่นกัน และมันเกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในไอโซโทปที่มี[[เลขมวล]]สูงมาก [[ฟิชชันเกิดเอง]] ถูกค้นพบในปี 1940 โดย Flyorov, Petrzhak และ Kurchatov<ref name="PetrzhakChapter" /> ในมอสโก เมื่อพวกเขาได้ตัดสินใจที่จะยืนยันว่า โดยไม่ต้องมีการระดมยิงด้วยนิวตรอน อัตราการเกิดฟิชชันของยูเรเนียมจะเล็กน้อยจนไม่ต้องนำมาคำนวณได้ ตามที่ได้คาดการณ์โดย Niels Bohr; มันไม่ได้เป็นเช่นนั้น<ref name="PetrzhakChapter">{{cite book |last=Петржак |first=Константин | author-link=Konstantin Petrzhak |editor-last=Черникова |editor-first=Вера | trans-title=Brief Moment of Triumph — About making scientific discoveries |title=Краткий Миг Торжества — О том, как делаются научные открытия |publisher=Наука |date=1989 |pages=108–112 | trans-chapter=How spontaneous fission was discovered |chapter=Как было открыто спонтанное деление | language=Russian |isbn=5-02-007779-8}}</ref>
 
[[ไฟล์:ComparisonsComparative ofnuclear otherfireball mushroom cloudssizes.jpgsvg|thumb|เมฆเห็ดที่ผลิตโดย[[ซาร์บอมบา]], ขณะนี้มันเป็นอุปกรณ์นิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้นในประวัติศาสตร์ เทียบกับเมฆเห็ดอื่น ๆ ของอุปกรณ์นิวเคลียร์ชนิดต่างๆ จะเห็นระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมาที่มีขนาดเล็กมาก]]
 
องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์เหล่านั้นคาดเดาไม่ได้ (ซึ่งแตกต่างกันไปในวงกว้างของความน่าจะเป็นและลักษณะที่ค่อนข้างวุ่นวาย) พวกมันทำให้ฟิชชันแตกต่างจากกระบวนการควอนตัมอุโมงค์ที่เกิดอย่างชัดเจน เช่นการปล่อยโปรตอน [[การสลายแอลฟา]]และการสลายกลุ่ม ที่ในแต่ละครั้งให้ผลิตภัณฑ์ตัวเดียวกัน นิวเคลียร์ฟิชชันผลิตพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและขับการระเบิดของ[[อาวุธนิวเคลียร์]] การนำไปใช้งานทั้งสองนี้เป็นไปได้เพราะสารบางอย่างที่เรียกว่าเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ทำให้เกิดการฟิชชันเมื่อพวกมันถูกกระแทกด้วยนิวตรอนฟิชชัน และส่งผลให้มีการปลดปล่อยนิวตรอนเมื่อนิวเคลียสแตกออก นี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ที่ยั่งยืนด้วยตนเอง และปล่อยพลังงานออกมาในอัตราที่สามารถควบคุมได้ใน[[เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์]]หรือในอัตราที่ไม่สามารถควบคุมได้อย่างรวดเร็วมากในอาวุธนิวเคลียร์
บรรทัด 17:
โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของธาตุขนาดใหญ่แยกตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุที่มีขนาดเล็กลง เรียกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน ซึ่งค่อนข้างจะคุ้นหูสำหรับคนไทยเนื่องจากมีการกล่าวถึงอยู่บ่อยครั้ง ในปัจจุบันมีการนำเอาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยาฟิชชันมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่น [[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศอังกฤษ]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส]] เป็นต้น แต่การนำเอาปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันมาใช้นั้นมีความเสี่ยงในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงมาก ซึ่งเห็นได้จากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นที่โรงงานไฟฟ้าเชอโนเบิล ที่[[สหภาพโซเวียต]] ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายและยังคงเป็นเรื่องเศร้าใจและน่ากลัวจนถึงทุกวันนี้
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* Elisabeth Crawford, Ruth Lewin Sime, and Mark Walker. "A Nobel Tale of Postwar Injustice", Physics Today Volume 50, Issue 9, 26–32 (1997).
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]]
* [[ลิตเติลบอย|ระเบิดนิวเคลียร์ลิตเติลบอย]]
 
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]]
* [[ลิตเติลบอย|ระเบิดนิวเคลียร์ลิตเติลบอย]]
 
[[หมวดหมู่:กัมมันตรังสี]]