ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภรณี มหานนท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ เริ่มเข้าทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กรมวิเทศสหการ,2512 กรรมการบริหารสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย,2513 อาจารย์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2518 ผู้เชี่ยวชาญทางรัฐประศาสนศาสตร์ อีสเวสเซนเตอร์ ฮาวาย,2518 รองเลขาธิการสภาสังคมสงเคราะห์,2523 รองคณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า),2525 คณบดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า), 1 ตุลาคม 2526 นายกสมาคมแม่บ้านตำรวจ คนที่ 1 (ปี 2526-2530),เลขาธิการสหพันธ์สตรีนักธุรกิจ และวิชาชีพกรรมการสมาคมไทย-อเมริกัน,2531 ที่ปรึกษาสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย และ นายกสมาคมนักเรียนเก่ามาแตร์เดอีวิทยาลัย
 
ต่อมาท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้เข้ารับราชการที่[[สำนักราชเลขาธิการ]] ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2528 เป็นวิทยากรพิเศษ กองราชเลขานุการ,1 ตุลาคม 2529 รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ฝ่ายศิลปาชีพ (เทียบเท่าผู้ช่วยราชเลขาธิการ), 1 ตุลาคม 2529 รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ฝ่ายศิลปาชีพ (เทียบเท่าผู้ช่วยราชเลขาธิการ),และเมื่อวันที่ [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2545]] เป็นรองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ (เทียบเท่ารองราชเลขาธิการ)ในปัจจุบัน
 
ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท่านผู้หญิง) 5 พฤษภาคม 2541,ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) 5 พฤษภาคม 2539,มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2538 และมหาวชิรมงกุฎ 5 ธันวาคม 2534 และได้รับรางวัลสุภาพสตรีผู้มีบุคคลิกดีเด่นสาขาข้าราชการของสมาคมส่งเสริมบุคคลิกสตรี เมื่อ [[พ.ศ. 2530]]