ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สโมสรฟุตบอลสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stelios (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Stelios (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 45:
 
== ประวัติ ==
ในปี พ.ศ. 2515 สมาคมหัวเฉียวจีนแคะ ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย และเป็น 1 ในภาคี ที่ร่วมก่อตั้ง มูลนิธิควีนสคัพ มาตั้งแต่แรก [[สโมสรฟุตบอลฮากกา]]เป็นสโมสรแรกที่ตกชั้นจากถ้วย ก. ลงมาสู่ฟุตบอลถ้วย ค. แต่[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]]ไม่เคยพลาดที่จะร่วมเข้าแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ แม้แต่ครั้งเดียว โดย[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]] จะรวมเอานักเตะระดับถ้วย ก. ที่ไม่ติดทีมทีมควีนสคัพของสโมสรอื่น มารวมตัวกันเล่นให้กับ[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]] นักเตะของฮากกาบางคนโชว์ฟอร์มได้ดี ในฟุตบอลควีนส์ คัพ จนได้ติดทีมชาติร่วมแข่งขันฟุตบอล คิงสคัพก็มี เช่น ชาญชัย กันอริ (ฟุตบอลควีนสคัพ แข่งเดือนตุลาคม ฟุตบอลคิงสคัพ แข่งเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน) มีครั้งหนึ่งที่สโมสรฮากกาได้ยกเอาทีมพนักงานยาสูบ (เล่นในถ้วย ค.) หรือทีมจังหวัดตราด (เล่นกีฬาเขต) มาเล่นฟุตบอลควีนส์ คัพ ในนามสโมสรฮากกา และทีมยาสูบทีมนี้สามารถ ปราบทีมถ้วย ก. จนผ่านถึงรอบรองชนะเลิศ นิตยสารฟุตบอลสยาม ยกย่องทีมยาสูบทีมนี้ว่า นักเตะบางคนมีความสามารถเล่นในระดับทีมชาติได้สบาย ๆ เช่น ผู้รักษาประตูสุริยา บุญเลิศ, ชาลี ภิรมย์ , อภิสิทธิ กันหสุต แต่ไม่ยอมเลื่อนชั้นขึ้นมาเพราะต้องการจะเล่นเพียงกีฬาเขต หรือกีฬาแห่งชาติ ในยุคปัจจุบัน เท่านั้น
'''สโมสรฟุตบอลสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย''' เป็น[[สโมสรฟุตบอล]]สมัครเล่น ใน[[ประเทศไทย]] ตั้งอยู่ที่[[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] ปัจจุบันลงแข่งขันใน[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข.]]
 
โดยสโมสรฟุตบอลสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย จัดว่าเป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่สโมสรหนึ่ง และเคยประสบความสำเร็จคว้าแชมป์[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก.]] ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับสูงที่สุดของประไทยในขณะนั้น ได้ในปี พ.ศ. 2497 ภายใต้ชื่อในขณะนั้นว่า ''สมาคมหัวเฉียวจีนแคะ''
 
ในปี พ.ศ. 2515 สมาคมหัวเฉียวจีนแคะ ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย และเป็น 1 ในภาคี ที่ร่วมก่อตั้ง มูลนิธิควีนสคัพ มาตั้งแต่แรก [[สโมสรฟุตบอลฮากกา]]เป็นสโมสรแรกที่ตกชั้นจากถ้วย ก. ลงมาสู่ฟุตบอลถ้วย ค. แต่[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]]ไม่เคยพลาดที่จะร่วมเข้าแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ แม้แต่ครั้งเดียว โดย[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]] จะรวมเอานักเตะระดับถ้วย ก. ที่ไม่ติดทีมทีมควีนสคัพของสโมสรอื่น มารวมตัวกันเล่นให้กับ[[สโมสรฟุตบอลฮากกา]] นักเตะของฮากกาบางคนโชว์ฟอร์มได้ดี ในฟุตบอลควีนส์ คัพ จนได้ติดทีมชาติร่วมแข่งขันฟุตบอล คิงสคัพก็มี เช่น ชาญชัย กันอริ (ฟุตบอลควีนสคัพ แข่งเดือนตุลาคม ฟุตบอลคิงสคัพ แข่งเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน) มีครั้งหนึ่งที่สโมสรฮากกาได้ยกเอาทีมพนักงานยาสูบ (เล่นในถ้วย ค.) หรือทีมจังหวัดตราด (เล่นกีฬาเขต) มาเล่นฟุตบอลควีนส์ คัพ ในนามสโมสรฮากกา และทีมยาสูบทีมนี้สามารถ ปราบทีมถ้วย ก. จนผ่านถึงรอบรองชนะเลิศ นิตยสารฟุตบอลสยาม ยกย่องทีมยาสูบทีมนี้ว่า นักเตะบางคนมีความสามารถเล่นในระดับทีมชาติได้สบาย ๆ เช่น ผู้รักษาประตูสุริยา บุญเลิศ, ชาลี ภิรมย์ , อภิสิทธิ กันหสุต แต่ไม่ยอมเลื่อนชั้นขึ้นมาเพราะต้องการจะเล่นเพียงกีฬาเขต หรือกีฬาแห่งชาติ ในยุคปัจจุบัน เท่านั้น
 
==ผลงาน==