ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chayenno (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
Chatsarun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''เครื่องเสียง''' หมายถึง [[เครื่องใช้ไฟฟ้า]]หรือเครื่องมือ[[อิเล็กทรอนิกส์]]ชนิดหนึ่ง ที่ทำหน้าที่ขยาย[[สัญญาณเสียง]] หรือเกี่ยวข้องกับกระบวนการขยายเสียง ถ่ายทอดเสียง กระจายเสียง เป็นต้น ในภายหลังยังนิยมเรียกรวมถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ[[สัญญาณภาพ]]ด้วย
 
== ประเภท หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียง ==
           เมื่อพูดถึงเครื่องขยายเสียงหรือแอมพลิฟายเออร์ตามภาษาอังกฤษ พวกเรามักจะนึกถึงเครื่องเสียงเสตอริโอราคาเป็นหมื่นเป็นแสน หรือไม่ก็เครื่องดนตรีแสนแพง แต่ที่จริงแล้วเครื่องขยายเสียง มีอยู่ในวิทยุราคาตั้งแต่ 50 บาท จนถึงราคาเป็นหลักสิบล้านก็มี คุณสามารถได้ยินจากโทรทัศน์ลำโพงของเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเล่นซีดีและอื่นๆอีกมากมายที่สามารถให้เสียงออกมาได้
 
== ชนิดประเภทของเครื่องเสียง ==
เครื่องเสียงนั้นมีด้วยกันหลายประเภท โดยอาจแบ่งตามลักษณะการทำงานได้ดังนี้
; อุปกรณ์แหล่งสัญญาณ: เป็นอุปกรณ์ต้นสัญญาณ โดยอาจเป็นแหล่งกำเนิดสัญญาณเอง หรือรับสัญญาณจากคลื่นวิทยุก็ได้ เช่น
เส้น 10 ⟶ 13:
:: ปรีแอมปลิไฟเออร์, เพาเวอร์แอมปลิไฟเออร์, อีควอไลเซอร์, มิกเซอร์, เซอราวด์ซาวด์โปรเซสเซอร์
; อุปกรณ์กระจายเสียง : เป็นส่วนท้ายสุดของระบบเครื่องเสียง เป็นตัวถ่ายทอดผลลัพธ์สุดท้ายออกมา ซึ่งก็คือ ลำโพง นั่นเอง
 
อย่างไรก็ตาม ยังมีอุปกรณ์อื่นๆ ในระบบเครื่องเสียงอีกมากมาย เช่น ไมโครโฟน, สายเคเบิล, สายสัญญาณ เป็นต้น
 
== ชนิดของเครื่องเสียง ==
; แบบใช้ทรานซิสเตอร์ : เป็นแบบที่นิยมใช้แบบหนึ่งเพราะเบอร์ของทรานซิสเตอร์ที่จะมาใช้งานมีมาก สามารถเลือกและสามารถออกแบบวงจรได้กว้าง คุณภาพของเสียงดี อัตราขยายสูงและความผิดเพี้ยนต่ำ ปัญหาการซ่อมไม่ยุ่งยาก อะไหล่หาได้ง่ายและแบบดั่งเดิมที่ใช้กันมานาน รู้จักละใช้แพร่หลายทั่วไป จุดเด่นของเครื่องขยายแบบทรานซิสเตอร์ คือสามารถจัดคราสการขยายได้กว้าง เพิ่มอัตราการขยายได้งาย และราคาถูก
 
; แบบใช้มอสเฟท : เป็นแบบที่เริ่มนำมาใช้ในวงจรขยายกำลังเมื่อไม่นาน ได้รับความนิยมอยู่ช่วงหนึ่ง ในปัจจุบันความนิยมในการใช้เพาเวอร์มอสเฟทลดลง ซึ่งอาจเป็นเพราะเพาเวอร์มอสเฟทที่ถูกสร้างมาใช้งานด้านการขยายเสียงมีไม่มากเบอร์ให้เลือกใช้งานน้อย ทำให้การออกแบบวงจร การเพิ่มอัตราขยาย การแก้ไขซ่อมแซมไม่กว้างและหาอะไหล่ยาก แต่มีข้อดีหลายข้อกว่าทรานซิสเตอร์ คืออัตราความผิดเพี้ยนต้ำกว่า สัญญาณรบกวนมีผลต่อการขยายน้อย มีความคงที่ในการทำงานต่ออุณหภมิสูงมาก มีความไวในการขยายสัญญาณสูง สามารถต่ออัตราขยายได้หลายภาค
 
; แบบใช้ IC (INTERGRATED AMPLIFIER) : เป็นภาคขยายกำลังที่เพิ่ใความนิยมมากขึ้น โดยสร้างอุปกรณ์พวกทรานซิสเตอร์ มอสเฟส รวมอยู่ในตัว IC เพาเวอร์แอมป์ ข้อดีของภาคขยายกำลังแบบ IC คือ ประสิทธิภาพของวงจรขยายสูงกว่ามอสเฟท เพราะมีการต่อวงจรน้อยลงโดยรวมวงจรต่างๆสำเร็จภายในตัว IC เลย ความผิดเพี้ยนที่เกิดขึ้นก็ยิ่งลดลง สามารถเพิ่มระบบควบคุมการทำงานต่างๆได้มากขึ้น ให้การตอบสนองความถี่เสียงดี แต่มีข้อเสียคือการทำให้มีอัตราขยายสูงๆทำได้ยาก อะไหล่ในการซ่อมแซมก็อาจหายากเช่นกัน ดังนั้นการใช้ภาคขยายกำลังแบบ IC จึงใช้ได้ในกำลังปานกลาง ไม่ต้องการอัตราขยายสูงนัก และไม่นำไปใช้งานแบบต่อเนื่องนานๆ
 
;แบบใช้ หลอดสูญญากาศ (Tube Amplifier) : เป็นภาคขยายกำลังที่มีมาก่อนแบบอื่น และต้องใช้ หม้อแปลงในการต่อคั่นระหว่างเครื่องขยายเสียงกับ ลำโพง ปัจจุบันได้มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ทันสมัยทำการผลิตหลอดสูญญากาศขึ้นมาใหม่โดยยังคงยึดคุณสมบัติของหลอดเดิมไว้ (เรียกว่า Reissue) จุดเด่นของเครื่องขยายแบบหลอดก็คือให้เสียงที่นุ่มนวล โดยเฉพาะกับเพลงที่เน้นเสียงร้องจะเด่นเป็นพิเศษ เสียงจะเพราะกว่าแบบอื่น ๆ ข้อเสียก็คือใช้กำลังไฟสูง และร้อน ดูแลรักษายาก
 
 
== รายชื่อบริษัทผลิตเครื่องเสียง ==
 
* [http://www.npe.co.th/ NPE] (ไทย)
 
* [[คลิปช์]] (Klipsch) (สหรัฐฯ)
* [[โซนี่]] (Sony) (ญี่ปุ่น)
* [[พานาโซนิค]] (Panasonic)
* [http://www.honic.co.th/ Honic] (ไทย)
* [[ไอวา]] (AIWA) บริษัทในเครือ SONY (ญี่ปุ่น)
* [[เจวีซี]] (JVC) (ญี่ปุ่น)
* [[ชาร์ป]] (SHARP) (ญี่ปุ่น)
* [[แอลจี]] (LG) (เกาหลี)
* [[แมคอินทอช แล็ป]] (McIntosh Labs) (สหรัฐฯ) คนละบริษัทกับ [[Macintosh]]
* [[นะกะมิจิ]] (Nakamichi) (ญี่ปุ่น, ถูกซื้อกิจการโดยบริษัทสิงคโปร์)
* [[แบง & โอลูฟเซน]] (Bang & Olufsen) (เดนมาร์ก)
* [[โบส]] (Bose) (สหรัฐฯ)
* [[ยามาฮ่า]] (Yamaha) (ญี่ปุ่น)
* [[ฮาร์แมนคาร์ดอน]] (Harman Kardon) (สหรัฐฯ)
* [[ธานินทร์]] (ไทย)
* [[ไดสตาร์]] (ไทย)
* [[ซาร์ค]] (SAAG) (ไทย) 026695372-3
 
[[หมวดหมู่:เครื่องเสียง| ]]