ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
คอมปานีบี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คอมปานีบี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 8:
 
ขณะเรียนที่คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ตั้งวงดนตรีกับเพื่อน เล่นเพลงแนวร็อก วง CANNED CAN มาโนชมีโอกาสได้ช่วยงานพี่ชาย และพี่สาว ซึ่งจัดรายการโทรทัศน์ทางช่อง 5และช่อง 9 หลายรายการ เช่น “อาทิตย์ยิ้ม”, “พระจันทร์แย้ม”, “ครอบครัวบันเทิง”, “สุขสันต์วันเสาร์” มีหน้าที่เขียนบทรายการ และเริ่มจัดรายการของตัวเอง เมื่อ พ.ศ. 2525 เป็นโปรเจกต์เพื่อจบการศึกษาในชั้นปีที่ 4 ชื่อ "เที่ยงวันอาทิตย์"
รายการเที่ยงวันอาทิตย์ของมาโนช เป็นรายการเพลงสากลความยาวครึ่งชั่วโมง เป็นรายการแรกๆ ที่นำมิวสิกวิดีโอ มาเปิดในรายการ รายการเที่ยงวันอาทิตย์จัดอยู่สองปีจึงถูกย้ายเวลาไปอยู่วันอื่น จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "บันเทิงคดี" เมื่อ พ.ศ. 2527
 
นิตยสารบันเทิงคดี ฉบับปฐมฤกษ์ ปีที่1 เล่ม1 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2532 Love Peace Music
รายการเที่ยงวันอาทิตย์ของมาโนช เป็นรายการเพลงสากลความยาวครึ่งชั่วโมง เป็นรายการแรกๆ ที่นำมิวสิกวิดีโอ มาเปิดในรายการ รายการเที่ยงวันอาทิตย์จัดอยู่สองปีจึงถูกย้ายเวลาไปอยู่วันอื่น จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "บันเทิงคดี" เมื่อ พ.ศ. 2527 และย้ายไปช่อง 11 เมื่อ พ.ศ. 2533 ผู้ที่ตั้งชื่อรายการให้คือ ดนู ฮันตระกูล ต่อมามาโนชได้ก่อตั้งบริษัทชื่อ "ไมล์สโตน" ทำรายการโทรทัศน์ทางช่อง 3 ชื่อ “เกมเปิดโลก” และรายการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมชื่อ “2534 โลกนี้ของใคร” ทำนิตยสารเกี่ยวกับดนตรีสากล ชื่อ "บันเทิงคดี" เมื่อ พ.ศ. 2532 จัดจำหน่ายผลงานให้กับ ดิ โอฬาร โปรเจ็คต์ มาลีฮวนน่า โกรอิ้งเพน พาราณสี ออเคสตรา และผลิตผลงานออกมาจำนวนหนึ่ง
ผลงานของ มาโนช พุฒตาล
พิมพ์ครั้งที่ 1
ปีที่พิมพ์ พ.ศ.2532
จัดพิมพ์โดย สำนักงานนิตยสารบันเทิงคดี บริษัทไมล์สโตน จำกัด
รายละเอียดเพิ่มเติม:
รู้สึกอย่างไรเมื่อได้มาทำนิตยสารของตัวเองที่เป็นแนวดนตรีอย่างเข้มข้นจริงๆ
เริ่มทำนิตยสาร บันเทิงคดี ในปี ๒๕๓๒ ตอนแรกมันสวยหรูเพราะว่าเราขายคู่กับรายการทีวี คือซื้อสปอนเซอร์ทีวีแถมหนังสือ ซื้อสปอนเซอร์หนังสือแถมทีวี มันอยู่ด้วยกันได้ อีกอย่างรายการทีวีผมเสียเวลาหาข้อมูลเยอะมากจนสามารถออกอากาศได้ ๒ ชั่วโมง แต่ได้ออกอากาศจริง ๆ แค่ ๒๕ นาที ผมรู้สึกเสียดายข้อมูลเลยเอามาลงในนิตยสารด้วย เพราะฉะนั้นก็เลยสนุก และได้เขียนคอลัมน์เองหลายคอลัมน์ บางคอลัมน์ก็ใช้นามปากกา อย่างคอลัมน์ท่องเที่ยวผมก็ใช้ว่า “นาย Travelling Man” มีอะไรจะชมตัวเองก็ชมได้สบาย เช่น บ.ก. มาโนชช่างใจเด็ด เดินป่าอย่างนั้นอย่างนี้ การทำหนังสือเหมือนเราได้มีสถานะอะไรบางอย่างขึ้นมา จะไปทำมาหากินอย่างอื่นก็คล่อง จะไปขอความร่วมมืออะไรก็สะดวก กระทั่งเริ่มมีปัญหาตอนปี ๒๕๓๙ เมื่อเกิดวิกฤตค่าเงินบาท โฆษณาเริ่มหายาก ทิศทางของหนังสือก็ต้องเปลี่ยนเพราะมีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์เกิดขึ้น เดิมเราตัดแปะหรือแปลจากหนังสือหัวนอกได้อย่างกับไปสัมภาษณ์ Eric Clapton มาเองเลย แต่ต่อมานิตยสารหัวนอกเข้ามาในเมืองไทยมากขึ้น เลยต้องเปลี่ยนมาทำแนวเพลงไทยเพราะจะได้ไม่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ หน้าปกเปลี่ยนเป็น ป๊อด โมเดิร์นด็อก แต่ก็ยังไปไม่รอด ถ้าทำต่อคงลำบาก บางคนบอกว่าทำมาตั้ง ๗ ปีไม่อยากเลิก แต่ตัวผมไม่ค่อยรู้สึกผูกมัดอะไรกับมันนัก เลิกก็เลิก ในที่สุดทำได้ประมาณ ๑๐๐ ฉบับก็ต้องปิดตัวเองลงในปี ๒๕๓๙ และจากนั้นมาโนชได้ย้ายไปช่อง 11 เมื่อ พ.ศ. 2533 ผู้ที่ตั้งชื่อรายการให้คือ ดนู ฮันตระกูล ต่อมามาโนชได้ก่อตั้งบริษัทชื่อ "ไมล์สโตน" ทำรายการโทรทัศน์ทางช่อง 3 ชื่อ “เกมเปิดโลก” และรายการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมชื่อ “2534 โลกนี้ของใคร” ทำนิตยสารเกี่ยวกับดนตรีสากล ชื่อ "บันเทิงคดี" เมื่อ พ.ศ. 2532 จัดจำหน่ายผลงานให้กับ ดิ โอฬาร โปรเจ็คต์ มาลีฮวนน่า โกรอิ้งเพน พาราณสี ออเคสตรา และผลิตผลงานออกมาจำนวนหนึ่ง
 
จวบจนช่วงต้นของ[[คริสต์ทศวรรษ 1990|ทศวรรษที่ 90]] ศิลปินหลายวง หลายคนในสังกัด[[อาร์เอส|อาร์เอส โปรโมชั่น]] เช่น [[ไฮ-ร็อก]] ที่ทำให้ดนตรีแนวเฮฟวี่เมทัลได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางมากขึ้น<ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=hQ23KPbvO4g&feature=related|title=HiRock Story1|date=3 June 2009|accessdate=6 September 2014|publisher=ยูทิวบ์}}</ref>, [[หิน เหล็ก ไฟ]] ที่เมื่อออกผลงานชุดแรกก็สร้างยอดขายได้มากกว่าหนึ่งล้านตลับ, [[หรั่ง ร็อกเคสตร้า]], [[อิทธิ พลางกูร]], [[ธนพล อินทฤทธิ์]], [[พิสุทธิ์ ทรัพย์วิจิตร]] ก็ประสบความสำเร็จอีกด้วย ในช่วงนี้ถือได้ว่าเป็นยุคทองของดนตรีร็อกแนวเฮฟวี่เมทัลของไทยอย่างแท้จริง โดยทั้งหมดได้รวมกันแสดงคอนเสิร์ต [[ช็อต ชาร์จ ช็อค ร็อก คอนเสิร์ต]] ที่มีจำนวนผู้ชมล้นหลามและจัดต่อเนื่องด้วยกันถึง 3 ครั้งในรอบ 3 ปี<ref>''ปลุกตำนานร็อก'', หน้า 33 บันเทิง. เดลินิวส์ฉบับที่ 23,280: อังคารที่ 9 กรกฎาคม 2556 ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 8 ปีมะเส็ง</ref>