ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
== ประวัติศาสตร์ วิวัฒนาการ และ บุคคลสำคัญ ==
[[ไฟล์:Franklin-Benjamin-LOC.jpg|thumb|left|100px|[[เบนจามิน แฟรงกลิน]]]]
 
ไฟฟ้าได้เป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มาตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 17 วิศวกรไฟฟ้าคนแรกอาจจะเป็น William Gilbert ผู้ที่ออกแบบ versorium: อุปกรณ์ที่ตรวจพบความมีอยู่ของวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าสถิต เขายังเป็นคนแรกที่แยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนระหว่างอำนาจแม่เหล้กและไฟฟ้าสถิต และได้รับเครดิตในการจัดตั้งคำว่าไฟฟ้า{{sfn|Martinsen|Grimnes|2011|p=411}}
 
การค้นพบไฟฟ้าสถิตนั้นมีมาตั้งแต่ยุคกรีกโบราณ แต่จุดเริ่มของทฤษฎีทางไฟฟ้ายุคใหม่ นั้นนับเริ่มต้นจากผลงานของ [[เบนจามิน แฟรงกลิน]] ในการทดลองชักว่าวผ่านเมฆฝน ในปี [[ค.ศ. 1752]] เพื่อเก็บประจุไฟฟ้าจากเมฆฝน และใช้ในการพิสูจน์ว่าฟ้าผ่านั้นเป็นกระแสไฟฟ้า เบนจามิน แฟรงกลิน (หรืออาจเป็น Ebenezer Kinnersley) นั้นได้สร้างแนวความคิดของประจุบวก และ ประจุลบ
 
เส้น 10 ⟶ 13:
 
[[ไฟล์:James_Clerk_Maxwell.jpg|thumb|right|100px|[[เจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์]]]]
โดยในปี [[ค.ศ. 1792]] นั้น กัลวานี ได้ค้นพบกระแสไฟฟ้าในสิ่งมีชีวิต ซึ่งงานนี้ได้ทำให้วอลตานั้นสามารถประดิษฐ์ โวลตาอิกไพล์ (voltaic pile) ซึ่งเป็นต้นแบบของแบตเตอรีไฟฟ้า ได้ในปี [[ค.ศ. 1800]] ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1820]] จากการสังเกตพบความสัมพันธ์ของไฟฟ้าและแม่เหล็ก ของ [[ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด]] ในการทดลองที่กระแสไฟฟ้าวิ่งผ่านขดลวดสามารถเบนเข็มแม่เหล็กของเข็มทิศได้นั้น อองแปร์ได้ทำการศึกษาถึงความสัมพันธ์นี้และสร้างเป็น [[กฎของแอมแปร์]] ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้านั้นถูกค้นพบโดยโอห์มในปี [[ค.ศ. 1827]] เรียก[[กฎของโอห์ม]] หลังจากนั้นในปี [[ค.ศ. 1831]] ฟาราเดย์ได้ค้นพบความสัมพันธ์การเหนี่ยวนำของแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและการกำเนิดกระแสไฟฟ้าในขดลวด ซึ่งรู้จักกันในนาม [[กฎของฟาราเดย์]] ในปี [[ค.ศ. 1864]] [[เจมส์ คลาร์ก แมกซ์เวลล์]] ได้รวบรวมความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและไฟฟ้า ในรูปชุดของสมการทางคณิตศาสตร์ เรียก[[สมการของแมกซ์เวลล์]] ซึ่งเป็นหัวใจของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic หรือ electrodynamic) ในปัจจุบัน และในปี 1873 เขาได้จัดพิมพ์ทฏษฎีไฟฟ้าและแม่เหล็กที่รวบรวมเป็นหนึ่งเดียวในหนังสือเรื่อง "ไฟฟ้าและแม่เหล็ก"{{sfn|Lambourne|2010|p=11}}
 
[[ไฟล์:Thomas_Edison.jpg|thumb|left|100px|[[โทมัส เอดิสัน]]]]