ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขความผิดพลาดการพิมพ์; เพิ่มเติมข้อมูลชื่อเจ้าอาวาส
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขความผิดพลาดการพิมพ์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 43:
นอกจากนี้ วัดพระฝางยังมี[[อุโบสถ]]มหาอุด (มีประตูทางเข้าบานเดียว) อยู่ด้านทิศตะวันตกของกลุ่มโบราณสถาน ตัวอุโบสถมีสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งเดิมภายในอุโบสถเคยเป็นที่ประดิษฐาน[[พระพุทธรูปพระฝาง]] ซึ่งปัจจุบันตัวอุโบสถยังคงมีบานประตูไม้และหน้าบันแกะสลักศิลปะสมัยอยุธยาอันสวยงามอยู่ (บานปัจจุบันเป็นบานจำลอง) และด้านทิศตะวันออกของกลุ่มโบราณสถานมีพระวิหารหลวง เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูป[[เชียงแสน]] ปัจจุบันในพระวิหารหลวงมีบานประตูไม้แกะสลักวัดพระฝาง (เป็นบานประตูบานจำลอง สร้างเสร็จในปี [[พ.ศ. 2551]] เพื่อนำมาติดตั้งแทนที่บานประตูเดิมที่ได้นำไปเก็บรักษาที่[[วัดธรรมาธิปไตย]]ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2494]])
 
ปัจจุบัน วัดพระฝางเป็นวัดที่ขาดเจ้าอาวาสมีพระสงฆ์จำพรรษากาลมหาณรงค์ เนื่องจากปัญหาด้านความร่วมมือในการดูแลรักษา ทั้งจากกรรมการวัดกิตติสาโร และชาวบ้าน ซึ่งทางราชการมีการพยายามสนับสนุนงบประมาณมาโดยตลอดเป็นเจ้าอาวาส แต่ไม่ได้รับความใส่ใจของพระสงฆ์และชาวบ้านเท่าที่ควรลูกวัดทั้งสิ้น 15 รูป<ref>คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุตรดิตถ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2543, หน้า 77-78.</ref> วัดแห่งนี้ ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 52 ลงวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2478]] มีพื้นที่ได้รับประกาศเป็นโบราณสถานประมาณ 32 ไร่ 3 งาน 90 ตารางวา<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00174882.PDF ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง กำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน], เล่ม ๑๒๒, ตอนพิเศษ ๑๒๖, ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘, หน้า ๒</ref>
 
== ประวัติ ==