ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วณิพก (อัลบั้ม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| Name = วณิพก
| Cover = Carabao03.jpg
| Type = studio
| Caption = ปกแผ่นเสียงอัลบั้ม วณิพก
| Artist = [[คาราบาว]]
| Released = [[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2526]]
| Format =
| Recorded = ห้องบันทึกเสียงศรีสยาม <br> ห้องบันทึกเสียงอโซน่า (2526)
| Genre = [[เพลงเพื่อชีวิต]] , [[สามช่า]] , [[ร็อก]]ร็อค , [[ลูกทุ่ง]]
| Length = 42.26
| Label = [[อโซน่า]] (2526)<br>[[วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์]] (2546)
| writer2Writer =
| Writer = แอ๊ด - [[ยืนยง โอภากุล]] และ[[วณิพก (อัลบั้ม)#เครดิต|อื่น ๆ]]
| Producer = สุรัตน์ แก้วสกุล และ พรรคพวก (ห้องบันทึกเสียงศรีสยาม)<br>สัมพันธ์ บัวผดุง (ห้องบันทึกเสียงอโซน่า)
| Producer = [[คาราบาว]]
| Last album = '''''[[แป๊ะขายขวด]]'''''<br />(2525)
| This album = '''''วณิพก'''''<br />(2526)
บรรทัด 18:
| Misc =
}}
'''วณิพก''' เป็น[[สตูดิโออัลบั้ม]]ลำดับชุดที่ 3 ของ [[วงคาราบาว]] ออกจำหน่ายเดือน [[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2526]] โดยสมาชิกวงในชุดนี้ได้แก่ แอ๊ด - [[ยืนยง โอภากุล]] , เขียว - [[กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร]] และเล็ก - [[ปรีชา ชนะภัย]] นอกจากนี้ยังได้เชิญ หมู - [[พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ]] และ วง[[เพรสซิเดนท์]] มาเล่นดนตรีบันทึกเสียงเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์แบบของวง[[สตริง]] โดยเป็นอัลบั้มชุดแรกที่ใช้ตราสัญลักษณ์ประจำวงรูปหัวควายที่นกสีแดงหันไปทางซ้าย ซึ่งเป็นแบบที่ใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน (หลังจากที่ชุดที่ 2 ได้เริ่มใช้รูปหัวควายแต่กลับด้านโดยนกสีแดงหันไปทางขวา) และเป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีชื่อเพลงเป็นภาษาต่างประเทศ คือ ''SUMMER HILL'' แต่เนื้อร้องเกือบทั้งหมดเป็น[[ภาษาไทย]]
 
อัลบั้มชุดนี้ส่งผลให้คาราบาวเป็นที่รู้จักในหมู่คนฟังอย่างกว้างขวาง โดยเพลงที่โด่งดังที่สุด ได้แก่ '''[[วณิพก]]''' โดยทำดนตรีเป็นจังหวะ '''[[สามช่า]]''' ซึ่งผสมผสานดนตรีแนว ช่า ช่า ช่า จากลาตินอเมริกาเข้ากับดนตรีรำวงของไทยอย่างลงตัว อีกทั้งเนื้อหาของเพลงที่เข้าถึงจิตใจของคนฟังได้เป็นอย่างดี บทเพลงของคาราบาวจึงมีเอกลักษณ์สะท้อนภาพของสังคมไทยเข้ากับความสนุกสนานของดนตรี<ref>http://www.carabao.net/biography/index.html</ref> และ และเพลงบทเพลงนี้ยังสามารถแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ใน[[ดิสโก้เทค]]ดิสโก้เธค ซึ่งไม่มีเพลงเพื่อชีวิตเพลงใดเปิดแผ่นมาก่อน ทำให้เพลงจังหวะสามช่ากลับมาคึกคัก เพราะหลังจากนั้นคาราบาวก็ได้นำเพลงนี้มาร้องบันทึกเสียงอยู่บ่อย ๆ และได้มีศิลปินท่านอื่น ๆ นำเพลงนี้ไปร้องต่อในสตูดิโออัลบั้มของตัวเองอีกด้วย เช่น [[มัม ลาโคนิคส์]] , [[ทีโบน (วงดนตรี)|ทีโบน]] ในอัลบั้มชุดแรกของพวกเขา เป็นต้น<ref>http://www.9dern.com/rsa/view.php?id=143</ref>
 
นอกจากนี้ บทเพลงอื่นๆ ในอัลบั้มก็ได้มีการร้องและทำดนตรีขึ้นใหม่ในภายหลัง อาทิเพลง '''ไม้ไผ่''' ซึ่งร้องโดย ต้อย - [[เศรษฐา ศิระฉายา]] อดีตนักร้องนำวง[[ดิอิมพอสซิเบิ้ล]] ดิ อิมพอสซิเบิ้ล รวมถึงเพลง '''จับกัง''' ซึ่งร้องโดย [[อานนท์ สายแสงจันทร์| หรือ ปู แบล็คเฮด]] ในอัลบั้มพิเศษ [[มนต์เพลงคาราบาว 25 ปี]] ในปี [[พ.ศ. 2550]] และเพลง '''ดอกจาน''' ที่ดนตรีออกไปทางแนวลูกทุ่งอย่างเด่นชัด โดยแอ๊ด - [[ยืนยง โอภากุล]] ก็เคยนำมาร้องอีกครั้งในอัลบั้มเดี่ยวชุดพิเศษองเขา [['''ก้นบึ้ง]]''' ในปี [[พ.ศ. 2533]]
 
ภายหลังในปี [[พ.ศ. 2546]] อัลบั้มงานเพลงชุดนี้ถูกนำมาปรับปรุงคุณภาพเสียงด้วยระบบดิจิตอล และ วางจำหน่ายใหม่อีกครั้งโดย [[วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์]]
 
==รายชื่อเพลง==
บรรทัด 30:
| writing_credits =
| title1 = วณิพก
| writer1writer1 = ยินยง โอภากุล
| length1 = 4.45
| title2 = [[ถึกควายทุย]] (ภาค 3)
| writer2 = ยินยง โอภากุล , กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร , ปรีชา ชนะภัย
| writer2 =
| length2 = 3.50
| title3 = หรอย
| writer3writer3 = ยินยง โอภากุล
| length3 = 4.43
| title4 = ไม้ไผ่
| writer4writer4 = ยินยง โอภากุล
| length4 = 3.59
| title5 = ดอกจาน
| writer5 = สำรอง อนันต์ทัศน์
| writer5 =
| length5 = 3.49
| title6 = บวชหน้าไฟ
| writer6writer6 = ยินยง โอภากุล
| length6 = 5.57
| title7 = Summer Hill
| writer7writer7 = ยินยง โอภากุล
| length7 = 5.04
| title8 = หัวลำโพง
| writer8 = คุณรุ่ง (ไม่ทราบชื่อ - นามสกุล)
| writer8 =
| length8 = 2.27
| title9 = จับกัง
| writer9 = ประทีป ชนะภัย (พี่ชายของเล็ก คาราบาว)
| writer9 =
| length9 = 2.26
| title10 = ล้อเกวียน
| writer10 = สีสัน ควงตะคองหลง
| writer10 =
| length10 = 5.26
}}
บรรทัด 67:
 
== นักดนตรีรับเชิญ ==
* PIANO , MOOG SYNTHESIZER - แดง - ศุภกร บุณยานันต์
* CONGAS , PERCUSSION - แอท - สำราญ ศรีทรัพย์ , หมู - [[พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ]]
* BASS - อ๊อด - [[อนุพงษ์ ประถมปัทมะ]]
* กลองชุด - แอท - สำราญ ศรีทรัพย์
* FIDDLE - เจ้าหน้าที่จากกรมศิลปากร
* FLUTE - หมู - [[พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ]]
 
== เครดิต ==
บรรทัด 90:
* โกวิท ธีระกุล ผู้ให้คำท้องถิ่นภาคใต้เพลง ''หรอย''
* วงโคบาล ผู้ให้คำผญาภาคอีสานเพลง ''SUMMER HILL''
 
== ที่มาของเพลง วณิพก {{refn|group=a|จากปกซีดีอัลบั้ม รวมฮิต 25 ปี บาวเบญจเพส}} ==
ตอนนั้นหลังจากที่กลับมาจากฟิลิปปินส์ ผมก็มาทำงานการเมือง
 
เคลื่อนไหวใต้ดินให้พรรค แล้วก็ไปทำงานให้กรมยุทธโยธาทหารบก เป็นลูกจ้าง
 
ชั่วคราวอยู่ 2 ปี แล้วหลังจากนั้นก็มาสอบเข้าการเคหะ อยู่การเคหะประมาณ 5 ปี
 
ในช่วงที่อยู่การเคหะ 3 ปีแรก ผมก็ยังเล่นดนตรีอยู่ ทำงานกลางวัน กลางคืนเล่นดนตรี
 
แต่วันหนึ่งก็คิดเพลงขึ้นมาได้ คือเพลง วณิพก ผมเคยทำงานอยู่ที่ตึกไทยไดมารู
 
ก่อนขึ้นบันไดที่ตึกไทยไดมารู จะมีศิลปินคนหนึ่งเป็นวณิพก ร้องเพลง น้ำท่วม แล้วก็
 
เขย่ากระป๋องตังค์ มันเป็นภาพที่ติดใจเรามาก และตรงนี้มันทำให้ผมพยายามเขียน
 
เพลงนี้ขึ้นมา ทำให้คนรู้จักคาราบาว เพราะเพลงนี้ค่อนข้างจะมีความกินใจ นี่คือวณิพก
 
สะท้อนให้เห็นถึงความมานะพยายามของคนที่แม้จะตาบอด ก็ยังมีความมุ่งมั่นที่จะ
 
เอาชนะการตาบอด ซึ่งมันเป็นไปได้ยาก ถ้าพูดถึงคนปัจจุบันที่ท้อแท้สิ้นหวัง
 
ถ้าเอาอย่างวณิพก รับรองไม่มีการประชดชีวิต หรือฆ่าตัวตายเลย เราต้องฟันฝ่าต่อ
 
เพื่อไปให้ถึงวันแห่งชัยชนะ เหมือนวณิพกพเนจร จะเห็นได้ว่าเพลงในยุคก่อนนั้น
 
จากกรอบบังคับของพรรคคอมมิวนิสต ทำให้ผมเขียนเพลงไม่ได้มาก เขียนเพลงชวน
 
ใครไปปฎิวัติไม่ได้ ได้แต่เขียนเพลงเพื่อสะท้อนปัญหาสังคมเท่านั้น
 
{{reflist|group=a}}
 
== อ้างอิง ==
เส้น 100 ⟶ 131:
== ดูเพิ่ม ==
* [[คาราบาว]]
 
 
{{คาราบาว}}