ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานะออกซิเดชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 25:
=== นิยามทางวิทยาศาสตร์ตาม IUPAC Technical Report ===
 
พาเวล กาเรน (Pavel Karen) และคณะได้เสนอการกำหนดนิยามของคำว่าสถานะออกซิเดชันและตีพิมพ์ในวารสารของ[[สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ|IUPAC]]ในปี ค.ศ. 2014 ในลักษณะรายงานทางเทคนิค (Technical Report)<ref>Toward a comprehensive definition of oxidation state (IUPAC Technical Report)., Pure and Applied Chemistry. Volume 86, Issue 6, Pages 1017–1081, ISSN (Online) 1365-3075, ISSN (Print) 0033-4545, DOI: 10.1515/pac-2013-0505, 2014 </ref> โดยได้กำหนดให้นิยามคำว่า ‘สถานะออกซิเดชัน’ โดยทั่วไปว่า
 
'''“สถานะออกซิเดชัน คือ ประจุของอะตอมหลังจากการประมาณแบบไอออนิกของพันธะของอะตอมนั้น”'''
 
'''การประมาณแบบไอออนิก (ionic approximation)''' อาจจะทำได้โดยการพิจารณาการมีส่วนร่วมของอะตอมใน[[ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล]] (MO) (รูป 1) หรือทำได้ด้วยการพิจารณาค่า[[อิเล็กโตรเนกาทิวิตี]]ของอัลเลน (Allen’s EN) (รูป 2)
 
'''การประมาณแบบไอออนิก (ionic approximation)''' อาจจะทำได้โดยการพิจารณาการมีส่วนร่วมของอะตอมใน[[ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล]] (MO) (รูป 1) หรือทำได้ด้วยการพิจารณาค่า[[อิเล็กโตรเนกาทิวิตี]]ของอัลเลน (Allen’s EN) (รูป 2)
 
[[ไฟล์:Bond 1.png|thumbnail|600 px|center|'''รูป 1:''' ซ้ายเป็นแผนภาพ MO ของพันธะระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน A-A ขวาเป็นแผนภาพ MO ของอะตอมที่มีพันธะระหว่างอะตอมต่างชนิด A-B ซึ่งจะมีเครื่องหมายแสดงความเป็นไอออนิกของพันธะ ]]
 
[[ไฟล์:Allen's EN for Oxidation State Definition.png|600px|thumbnail|center|'''รูป 2:''' แผนภาพเปรียบเทียบพลังงานของอะตอม ซ้าย ในโมเลกุลที่มีพันธะระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน A-A และ ขวา ระหว่างอะตอมต่างชนิดกัน A-B เครื่องหมาย +, - แทนเครื่องหมายของประจุที่ได้จากการประมาณแบบไอออนิก (อะตอมที่มีค่า EN ตามการคำนวณของอัลเลนสูงกว่าจะมีพลังงานต่ำกว่าและมีเครื่องหมายไอออนิกเป็นลบ)]]
 
====วิธีการกำหนดสถานะออกซิเดชัน====
 
วิธีการกำหนดสถานะออกซิเดชันทำได้โดยกำหนดให้สถานะออกซิเดชันเท่ากับประจุของอะตอมหลังจากการแบ่งแยกพันธะอย่างเสมอภาคระหว่างอะตอมชนิดเดียวกันและการแบ่งแยกพันธะระหว่างอะตอมต่างชนิดกันด้วยการพิจารณาค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีที่วัดโดยวิธีของอัลเลน '''ยกเว้น''' กรณีที่อะตอมที่มี[[อิเล็กโตรเนกาทิวิตี]]สูงกว่าอะตอมนั้นสร้างพันธะแบบกลับในฐานะลิแกนด์แบบ[[ทฤษฎีกรด–เบส|กรดลิวอิส]]ซึ่งอะตอมนั้นไม่ได้รับอิเล็กตรอนที่สร้างพันธะนั้นๆ หรืออาจจะใช้[[การคำนวณผลรวมพันธะเวเลนซ์]] (Bond Valence Sum Calculation; BVS) และวิธีอื่นๆ
 
== เอกสารอ้างอิง ==