ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tonypaph (คุย | ส่วนร่วม)
Tonypaph (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 143:
 
มีกระซู่ 7 ตัวที่ถูกส่งไป[[สหรัฐอเมริกา]] (ที่เหลืออยู่ที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) แต่เมื่อถึงปี พ.ศ. 2540 จำนวนกระซู่ก็เหลือเพียงแค่ 3 ตัวคือ เพศเมียที่สวนสัตว์[[ลอสแอนเจลิส]] เพศผู้ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ และเพศเมียที่สวนสัตว์[[เดอะบร็องซ์|บร็องซ์]] ท้ายที่สุดก็ได้ย้ายกระซู่ทั้งสามมาอยู่ที่สวนสัตว์ซินซินนาติ หลังความพยายามที่ล้มเหลวเป็นปี เพศเมียจากลอสแอนเจลิส ''เอมี (Emi)'' ก็ตั้งท้องถึงหกครั้งกับเพศผู้ ''อีปุห์ (Ipuh)'' ห้าครั้งแรกจบลงด้วยความล้มเหลว แต่นักวิจัยได้เรียนรู้จากความล้มเหลวนั้น และด้วยการช่วยเหลือด้วยการบำบัดด้วยฮอร์โมนพิเศษ เอมีจึงให้กำเนิดลูกเพศผู้ที่ชื่อ ''อันดาลัส (Andalas)'' (คำในวรรณคดี[[ภาษาอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]ที่ใช้เรียก "[[สุมาตรา]]") ในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2544<ref name=CincZoo1>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/Legacy/legacy.html | title = Andalas - A Living Legacy | work = [[Cincinnati Zoo]] | accessdate = 2007-11-04}}</ref> การให้กำเนิดอันดาลัสนับเป็นความสำเร็จครั้งแรกใน 112 ปี ที่กระซู่สามารถให้กำเนิดลูกในกรงเลี้ยงได้ ลูกกระซู่เพศเมีย ชื่อ ''ซูจี (Suci)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "บริสุทธิ์") ก็ถือกำเนิดเป็นตัวถัดมาในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2547<ref name=CincZoo2>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/Conservation/GlobalConservation/SumatranRhino/BirthAnnouncement/announcement.html | title = It's a Girl! Cincinnati Zoo's Sumatran Rhino Makes History with Second Calf | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref> ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2550 เอมีได้ให้กำเนิดลูกเป็นครั้งที่สาม เป็นเพศผู้ตัวที่สอง ชื่อ ''ฮาราปัน (Harapan)'' (มาจากภาษาอินโดนีเซีย แปลว่า "ความหวัง") หรือ แฮร์รี่<ref name=Roth03>{{Cite journal | title = Breeding the Sumatran rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) in captivity: behavioral challenges, hormonal solutions | author = Roth, T.L. | year = 2003 | journal = Hormones and Behavior | volume = 44 | pages = 31 }}</ref><ref name=CincZoo3>{{Cite web | url = http://www.cincinnatizoo.org/VisitorGuide/zoonews/RhinoCalf/itsaboy.html | title = Meet "Harry" the Sumatran Rhino! | accessdate = 2007-11-04 | work = [[Cincinnati Zoo]] }}</ref> ในปี พ.ศ. 2550 อันดาลัสก็ได้ย้ายจากสวนสัตว์ลอสแอนเจลิสกลับสู่[[สุมาตรา]]เพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมขยายพันธุ์กระซู่กับเพศเมียที่มีสุขภาพดี<ref name=Roth06>{{Cite journal | last = Roth | first = T.L. | coauthors = R.W. Radcliffem, and N.J. van Strien | year = 2006 | title = New hope for Sumatran rhino conservation (abridged from Communique) | journal = International Zoo News | volume = 53 | issue = 6 | pages = 352–353}}</ref><ref name=Watson>{{Cite news | url = http://www.latimes.com/news/printedition/front/la-fg-rhino26apr26,1,6457407,full.story?ctrack=1&cset=true | title = A Sumatran rhino's last chance for love | author = Watson, Paul | work = [[The Los Angeles Times]] | date = April 26, 2007 | accessdate = 2007-11-04 }}</ref> เอมีได้ตายลงเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2552 <ref name=>{{Cite web | url = http://cincinnatizoo.org/conservation/crew/rhino-signature-project/sumatran-rhino/ | title = Emi, In Loving Memory | accessdate = 2016-02-16 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref> Harapan กระซู่ตัวสุดท้ายในสวนสัตว์ Cincinnati ได้กลับสู่อินโดนีเซีย เมื่อปี 2558 เพื่อเข้าสู่โปรแกรมการขยายพันธุ์ ปัจจุบันกระซู่ในที่เลี้ยงทั้งหมดอยู่ในอินโดนีเซีย และมาเลเซีย <ref name=>{{Cite web | url = http://cincinnatizoo.org/blog/2015/08/25/last-sumatran-rhino-in-western-hemisphere-is-leaving-the-cincinnati-zoo/ | title = LAST SUMATRAN RHINO IN WESTERN HEMISPHERE IS LEAVING THE CINCINNATI ZOO | accessdate = 2016-02-16 | work = [[Cincinnati Zoo]]
}}</ref>
 
ทั้งที่การเพาะพันธุ์กระซู่ที่สวนสัตว์ซินซินนาติประสบผลสำเร็จ โปรแกรมการขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงก็ยังคงเป็นที่ขัดแย้งกันอยู่ ผู้เห็นด้วยให้เหตุผลว่าสวนสัตว์ได้ช่วยเหลือถึงความพยายามที่จะอนุรักษ์ด้วยการศึกษาพฤติกรรมการสืบพันธุ์ เพิ่มความตระหนักและการศึกษาในกระซู่ให้แก่สาธารณชน และช่วยเพิ่มแหล่งกองทุนสำหรับความพยายามที่จะอนุรักษ์กระซู่ในสุมาตรา ผู้คัดค้านกลับแย้งว่า มีการสูญเสียมากเกินไป โปรแกรมแพงเกินไป มีการเคลื่อนย้ายกระซู่จากถิ่นอาศัย แม้เพียงชั่วคราว มีการปรับเปลี่ยนบทบาททางนิเวศวิทยา และประชากรที่จับมาเข้าโปรแกรมไม่สมดุลกับอัตราการพบกระซู่ในถิ่นอาศัยทางธรรมชาติที่ได้รับการปกป้องเป็นอย่างดี<ref name=Dinerstein/><ref name=Roth06/>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"