ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบขนส่งมวลชนเร็ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ความเร็วสูง" → "เร็ว" ด้วยสจห.
บรรทัด 16:
[[ไฟล์:Constructing the Metropolitan Railway.png|thumb|ภาพการก่อสร้าง[[รถไฟใต้ดินลอนดอน]] ในปี [[ค.ศ. 1861]] ]]
 
ระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง เริ่มมีมาตั้งแต่ ค.ศ. 1863 สายแรกคือ [[รถไฟใต้ดินลอนดอน]] ในปี [[ค.ศ. 1890]] [[การรถไฟลอนดอนใต้]] เป็นการรถไฟแรกที่มีรถไฟขับเคลื่อนด้วยกระแสไฟฟ้า<ref name=Ovenden7>Ovenden, 2007: 7</ref> ระบบขับเคลื่อนด้วยกระแสไฟฟ้า ได้ใช้ในเส้นทาง[[รถไฟใต้ดินลอนดอน]] ซึ่งพัฒนาไปได้เร็วกว่าประเทศอื่นๆ
 
สำหรับระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงสายแรกใน[[ประเทศไทย]]ที่เปิดให้บริการ คือ [[รถไฟฟ้าบีทีเอส]] ซึ่งเป็นแบบยกระดับ ได้เปิดทำการเมื่อวันที่ [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2542]] ปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้างส่วนต่อขยาย
 
== การดำเนินการ ==
ระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงมักใช้ในเขต[[เมือง]] เพื่อที่จะใช้ขนส่งผู้คนมากมายได้อย่างรวดเร็ว ระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง มีขอบเขตเส้นทางมากที่สุดเพียงแค่เส้นทางระหว่างเมือง ส่วนเขตชานเมืองอื่นๆ จะใช้[[รถไฟ]]ธรรมดา การดำเนินการของระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง อาจส่งผลต่อความพึงพอใจต่อเจ้าของด้วย
 
ระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง สามารถใช้เดินทางร่วมกับระบบอื่นๆ ได้ อาทิเช่น [[รถโดยสารประจำทาง]] [[รถราง]] หรือ [[รถไฟชานเมือง]] ซึ่งจะช่วยในเรื่องการรับรองผู้โดยสาร เนื่องด้วยความจำกัดในบางพื้นที่ อาจทำให้สร้างรถไฟฟ้าไม่เพียงต่อ จึงต้องใช้ระบบขนส่งมวลชนอื่นแทน
 
=== รูปแบบผังเส้นทาง ===
บรรทัด 41:
 
=== ลักษณะเส้นทาง ===
{{บทความหลัก|รายชื่อระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง}}
[[ไฟล์:Hamburg Hochbahn - Bruecke am Stintfang.jpg|thumb|รถไฟฟ้าในเมือง[[ฮัมบูร์ก]]]]
 
บรรทัด 80:
== ดูเพิ่ม ==
* [[ระบบขนส่งทางราง]]
* [[รายชื่อระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง]]
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 86:
 
{{ระบบขนส่งสาธารณะ}}
[[หมวดหมู่:ระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง| ]]
[[หมวดหมู่:การขนส่งผู้โดยสารระบบราง| ]]