ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาสร้อยขาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| binomial = ''Henicorhynchus siamensis''
| binomial_authority = ([[Sauvage]], [[ค.ศ. 1881|1881]])
| synonyms ={{hidden begin}}
*''Morara siamensis'' <small>Sauvage, 1881</small>
*''Tylognathus siamensis'' <small>[[de Beaufort]], 1927</small>
*''Tylognathus brunneus'' <small>[[Fowler]], 1934</small>
*'' Tylognathus entmema'' <small>Fowler, 1934</small>
*''Cirrhinus marginipinnis'' <small>Fowler, 1937</small>
*''Cirrhina sauvagei'' <small>Fang, 1942</small>
*''Crossocheilus thai'' <small>Fowler, 1944</small>
{{hidden end}}
}}
 
เส้น 21 ⟶ 29:
ปลาสร้อยขาวมีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ และใน[[ฤดูฝน]]จะมีการอพยพย้ายถิ่นขึ้นสู่ต้นน้ำหรือบริเวณที่น้ำหลากเพื่อวางไข่และหากิน พบในแหล่งน้ำหลาก หนองบึง และแม่น้ำขนาดใหญ่ใน[[ภาคกลาง]] [[ภาคเหนือ]] [[ภาคตะวันออก]] และ[[ภาคอีสาน]]ของ[[ไทย]] เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างยิ่งของภาคอีสาน โดยนิยมนำมาทำ[[ปลาร้า]] และทำ[[น้ำปลา]] เป็นที่มาของน้ำปลารสชาติดี คือ "น้ำปลาปลาสร้อย"
 
มีชื่อเรียกอื่นในภาษาท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น "ปลาส้อยหัวกลม" ใน[[ภาษาอีสาน]], หรือ "ปลากระบอก" ใน[[ภาษาเหนือ]] นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็น[[ปลาสวยงาม]]อีกด้วย<ref>หน้า 89 หนังสือสาระน่ารู้ ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑ โดย [[สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์]] [[พ.ศ. 2547]] ISBN 974-00-8701-9 </ref>
 
==อ้างอิง==