ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยามา (สัตว์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
'''ยามา'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. "[http://www.royin.go.th/upload/246/FileUpload/2378_5395.pdf หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาสเปน]." ใน '''หลักเกณฑ์การทับศัพท์ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ ภาษามลายู ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.''' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2535, หน้า 64.</ref> หรือ '''ลามา'''<ref>{{cite web|title=สารานุกรมสัตว์ : ลามา|url=http://www.zoothailand.org/index.php/th/-animal-encyclopedia/2009-11-08-22-26-17/item/162-%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B2|publisher=[[องค์การสวนสัตว์]]|date=ม.ป.ป.|accessdate=28 พฤษภาคม 2556}}</ref> ({{lang-es|llama}},<ref>Real Academia Española. '''Diccionario de la lengua española - 22.ª edición.''' Madrid: Espasa-Calpe, 2001, pág. 941.</ref><ref>Collins Spanish-English Dictionary. "llama 1." [Online]. Available: [http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true] [n.d.]. Retrieved September 1, 2012.</ref> {{IPA-es|ˈʎama ~ ˈʝama|pron}}; {{lang-qu|llama}}, <small>เสียงอ่าน:</small> {{IPA|/ˈʎama/}};<ref>UCLA Department of Linguistics. "The UCLA Phonetics Lab Archive: Word List for Quechua, South Bolivian (Cochabamba dialect) 1983-01." [Online]. Available: [http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html] 2007. Retrieved September 1, 2012.</ref> {{lang-en|llama}}, {{IPA-en|ˈjɑːmə, ˈlɑːmə|pron}};<ref>Jones, Daniel. Edited by Roach, Peter; Setter, Jane; and Esling, John. '''Cambridge English Pronouncing Dictionary 18th edition.''' Cambridge: Cambridge University Press, 2011, p. 292.</ref> {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Lama glama}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ในตระกูล[[อูฐ]] (camelid) ของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] ซึ่งเป็นรู้จักกันอย่างแพร่หลายใน[[วัฒนธรรมแอนดีส|วัฒนธรรมของชาวแอนดีส]]ตั้งแต่สมัยก่อนการเข้ามาของชาวสเปน
 
ส่วนสูงในช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ระหว่าง 1.70 เมตร (5.5 ฟุต) ถึง 1.80 เมตร (6 ฟุต) โดยวัดจากส่วนบนสุดของหัว พวกมันมีน้ำหนักตัวอยู่ระหว่าง 130-200 กิโลกรัม (280-450 ปอนด์) ในช่วงแรกเกิด [[เกรีย]] ({{lang|es|''cria''}}) จะมีช่วงน้ำหนักที่ระหว่าง 9-14 กิโลกรัม (20-30 ปอนด์) ยามามีช่วงชีวิตที่ประมาณ 20-30 ปีขึ้นอยู่กับการดูแล{{อ้างอิง}} ยามาเป็นสัตว์สังคมและอาศัยร่วมกับยามาตัวอื่น ๆ ในลักษณะของ[[ฝูงสัตว์]] ขนสัตว์ที่ผลิตจากยามาจะมีความนุ่มมากและปราศจาก[[ลาโลนิน]] (ไขจากขนสัตว์) ยามาเป็นสัตว์ที่เฉลียวฉลาดและสามารถเรียนรู้งานง่าย ๆ ได้หลังจากทำซ้ำเพียงไม่กี่ครั้ง เมื่อ[[กระเป๋าสะพายหลัง|แบกสัมภาระ]] ยามาสามารถแบกสิ่งของได้ราวร้อยละ 25-30 ของน้ำหนักตัวในการเดินทางในระยะ 8-13 กิโลเมตร (5-8 ไมล์)<ref name="OK State">
{{cite web
|url=http://www.ansi.okstate.edu/breeds/other/llama/
|publisher=[[Oklahoma State University]]
|title=Llama
|date=2007-06-25}}</ref>
 
ยามามีต้นกำเนิดจากที่ราบตอนกลางของ[[อเมริกาเหนือ]]ในช่วง 40 ล้านปีที่ผ่านมา แล้วพวกมันก็ได้อพยพไปยัง[[อเมริกาใต้]]เมื่อประมาณ 3 ล้านปีที่ผ่านมา เมื่อถึงช่วงปลาย[[ยุคน้ำแข็ง]] (10,000-12,000 ปีก่อน) สัตว์ตระกูลอูฐก็สูญพันธุ์ไปจากอเมริกาเหนือแล้ว<ref name="OK State"/> ณ ปี ค.ศ. 2007 มียามาและ[[อัลปากา]]กว่า 7 ล้านตัวในอเมริกาใต้ และเนื่องจากการนำเข้าจากอเมริกาใต้ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ทุกวันนี้จึงมียามากว่า 158,000 ตัว รวมถึงอัลปากาอีกกว่า 100,000 ตัวใน[[สหรัฐอเมริกา]]และ[[แคนาดา]]<ref name="Numbers">
เส้น 32 ⟶ 25:
== ชื่อในภาษาอื่น ==
ยามา ใน[[ภาษาจีน]]มีความหมายตรงตัวว่า อูฐแกะใหญ่ (大羊駝 อ่าน ''ต้า-หยาง-ถัว'', [[พินอิน]]: dà yáng tuó; ส่วน อูฐแกะ เฉยๆ แปลว่า อัลปากา) เนื่องจากว่ายามาเป็นสัตว์ที่มีสายพันธ์ใกล้[[อูฐ]]และรูปร่างเหมือน[[แกะ]]
== ลักษณะ ==
 
ยามามีส่วนสูงในช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ระหว่าง 1.70 เมตร (5.5 ฟุต) ถึง 1.80 เมตร (6 ฟุต) โดยวัดจากส่วนบนสุดของหัว พวกมันมีน้ำหนักตัวอยู่ระหว่าง 130-200 กิโลกรัม (280-450 ปอนด์) ในช่วงแรกเกิด [[เกรีย]] ({{lang|es|''cria''}}) จะมีช่วงน้ำหนักที่ระหว่าง 9-14 กิโลกรัม (20-30 ปอนด์) ยามามีช่วงชีวิตที่ประมาณ 20-30 ปีขึ้นอยู่กับการดูแล{{อ้างอิง}} ยามาเป็นสัตว์สังคมและอาศัยร่วมกับยามาตัวอื่น ๆ ในลักษณะของ[[ฝูงสัตว์]] ขนสัตว์ที่ผลิตจากยามาจะมีความนุ่มมากและปราศจาก[[ลาโลนิน]] (ไขจากขนสัตว์) ยามาเป็นสัตว์ที่เฉลียวฉลาดและสามารถเรียนรู้งานง่าย ๆ ได้หลังจากทำซ้ำเพียงไม่กี่ครั้ง เมื่อ[[กระเป๋าสะพายหลัง|แบกสัมภาระ]] ยามาสามารถแบกสิ่งของได้ราวร้อยละ 25-30 ของน้ำหนักตัวในการเดินทางในระยะ 8-13 กิโลเมตร (5-8 ไมล์)<ref name="OK State">
{{cite web
|url=http://www.ansi.okstate.edu/breeds/other/llama/
|publisher=[[Oklahoma State University]]
|title=Llama
|date=2007-06-25}}</ref>
== ดูเพิ่ม ==
* [[อัลปากา]]