ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัสดุผสม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1:
'''วัสดุผสม''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: composites) คือวัสดุที่ถูกสร้างขึ้นมาจากวัสดุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะงาน โดยไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การผสมกันของวัสดุเหล่านี้จะไม่เป็นเนื้อเดียวกันแต่จะแยกกันเป็นเฟสที่เห็นได้อย่างเด่นชัด เฟสแรกเรียกว่า ''เนื้อพื้น'' (matrix) ซึ่งจะอยู่ด้วยกันอย่างต่อเนื่องและล้อมรอบอีกเฟสซึ่งเรียกว่า ''เฟสที่กระจาย'' หรือ ''ตัวเสริมแรง'' (reinforcement) คุณสมบัติของวัสดุผสมที่ได้จะเป็นฟังชั่นหรือขึ้นกันกับคุณสมบัติและปริมาณของสารตั้งต้นเหล่านี้ และรูปทรงทางเรขาคณิตของเฟสที่กระจายตัว
 
== ประเภทของวัสดุผสม ==
วัสดุผสมสามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่มดังนี้
# วัสดุผสมที่เสริมแรงด้วยอนุภาค (particle-reinforced)
# วัสดุผสมที่เสริมแรงด้วยเส้นใย (fiber-reinforced)
# วัสดุผสมโครงสร้าง (structural)
วัสดุที่สามารถนำมาใช้งานได้โดยที่ไม่ต้องนำไปดัดแปลงมากมายโดยการพัฒนาการทางเคมี
เราสามารถนำวัสดุมาใช้โดยการนำเคมีที่เราสามารถหาได้โดยทั่วไปมาเป็นส่วนประกอบเพื่อแยกส่วนประกอบต่างๆ
ของวัสดุที่เราคิดเปลี่ยนสภาพได้เร็ว
โดยใช้สารเคมีมาเป็นตัวแยกส่วนประกอบออกมาให้ได้หลายแขนง
ฉนั้น การที่เราจะนำโลหะที่ไม่สามารถแยกตัวประกอบได้นั้นเราสามารถทำได้โดยการใช้สารเคมีมาเป็นส่วนประกอบ เพื่อแยกการแตกตัวของงานโลหะชิ้นนั้น โดยใช้หลักการการกัดกล่อนของสารเคมี
 
วัสดุที่สามารถนำมาใช้งานได้โดยที่ไม่ต้องนำไปดัดแปลงมากมายโดยการพัฒนาการทางเคมี เราสามารถนำวัสดุมาใช้โดยการนำเคมีที่เราสามารถหาได้โดยทั่วไปมาเป็นส่วนประกอบเพื่อแยกส่วนประกอบต่างๆ
==อ้างอิง==
ของวัสดุที่เราคิดเปลี่ยนสภาพได้เร็ว โดยใช้สารเคมีมาเป็นตัวแยกส่วนประกอบออกมาให้ได้หลายแขนง ฉนั้น การที่เราจะนำโลหะที่ไม่สามารถแยกตัวประกอบได้นั้นเราสามารถทำได้โดยการใช้สารเคมีมาเป็นส่วนประกอบ เพื่อแยกการแตกตัวของงานโลหะชิ้นนั้น โดยใช้หลักการการกัดกล่อนของสารเคมี
 
== อ้างอิง ==
# Materials Science and Engineering An Introduction By William D. Callister, Jr