ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิธีใช้:การอ่านตารางจำแนกพันธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
#*'''วงศ์'''-รองลงมาจากอันดับ
#*'''สกุล'''-รองลงมาจากวงศ์
#*'''สปีชีส์'''-ขยายความลักษณะสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ
#:นอกจากนี้ บางครั้งอาจจะมี "สกุลย่อย" (ซับจีนัส-subgenus), สกุลใหญ่" (ซูเปอร์จีนัส-supergenus) ฯลฯ การที่เติมคำว่า -ย่อย (sub-) หรือ -ใหญ่ (super-) ไว้กับชื่อชั้นการจำแนก ก็เพื่อระบุชื่อการจำแนกที่สูงหรือต่ำกว่าชื่อชั้นการจำแนกนั้น ๆ แต่ไม่เลยชั้นการจำแนกที่อยู่ถัดกัน <u>ตัวอย่างเช่น สกุลใหญ่ จะอยู่เหนือกว่าสกุล แต่ต่ำกว่าวงศ์ เป็นต้น</u>
#'''ชื่อทวินาม''' หรือ '''ชื่อไตรนาม''' (หรือ'''ชื่อวิทยาศาสตร์''') คือชื่อที่ให้แก่สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์ เพื่อให้เข้าใจได้โดยทั่วกัน ถ้ามีสองส่วนเรียกชื่อทวินาม และถ้ามีสามส่วนก็เรียกชื่อไตรนาม และ'''ชื่อย่อนักวิทยาศาสตร์''' เป็นชื่อย่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้ตีพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นเป็นครั้งแรก มักใส่ไว้ท้ายชื่อวิทยาศาสตร์ เมื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในงานตีพิมพ์ต่าง ๆ โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี้
* ใส่ชื่อสกุลเต็ม เมื่อใช้กับสัตว์ (มักใส่ปีที่ตีพิมพ์ด้วย) เช่น ''Panthera leo'' [[คาโรลัส ลินเนียส|Linnaeus]], [[พ.ศ. 2301|1758]] ซึ่งเป็นชื่อของ[[สิงโต]]
* ใส่ชื่อสกุลย่อ เมื่อใช้กับพืช และ[[อาณาจักรฟังไจ|เห็ดรา]] เช่น ''Cocos nucifera'' [[คาโรลัส ลินเนียส|L.]] ซึ่งเป็นชื่อของ[[มะพร้าว]]
 
นอกเหนือจากนี้ อาจมีข้อมูลอื่น ๆ เช่นแผนที่แสดงถิ่นที่อยู่ และชื่อพ้อง (synonym) ฯลฯ
สำหรับสีที่อยู่บนตารางจำแนกพันธุ์ แสดงถึงอาณาจักรหรือโดเมน ที่ได้จัดจำแนกสิ่งมีชีวิตให้อยู่ แต่ส่วนมากจะยึดที่อาณาจักรมากกว่า ดังตาราง