ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ป๋วย อึ๊งภากรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 44:
 
== การศึกษา ==
พ่อแม่ของป๋วยตั้งใจส่งลูกชายเข้าเรียน ที่แผนก[[ภาษาฝรั่งเศส]] [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] ในปี พ.ศ. 2467 ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีค่าเล่าเรียนแพง คือปีละ 70 บาทในสมัยนั้น. เมื่อเด็กชายป๋วยอายุได้เก้าขวบ บิดาของป๋วยก็เสียชีวิต โดยไม่มีทรัพย์สินเงินทองทิ้งไว้ให้ ลุงเป็นคนรับอุปการะ ส่งเสียเงินให้เป็นรายเดือน แม้ว่าจะมีปัญหาด้านการเงิน มารดาของป๋วย ก็สนับสนุนให้เรียนหนังสือที่เดิม จนสำเร็จการศึกษา ในปี พ.ศ. 2476 ขณะอายุได้ 18 ปี ป๋วยได้มาเป็น[[มาสเตอร์]] หรือครูที่นักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญใช้เรียก ที่โรงเรียนอัสสัมชัญ สอนวิชาคำนวณ และภาษาฝรั่งเศส มีรายได้เดือนละ 40 บาท แบ่งให้แม่ 30 บาท
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2477]] ป๋วยได้สมัครเข้าเรียนต่อที่ [[มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง]] เป็นนักศึกษารุ่นแรก ซึ่งในสมัยนั้นยังไม่มีการบังคับให้เข้าชั้นเรียน ทางมหาวิทยาลัยได้จัดพิมพ์คำบรรยายออกจำหน่ายในราคาถูก วิชาละประมาณ 2 บาท เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่กำลังทำงานอยู่สามารถศึกษาเองได้ ป๋วยใช้เวลาในตอนค่ำและวันหยุดเรียนอยู่ 4 ปี ก็สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางกฎหมายและการเมือง ในปี [[พ.ศ. 2480]]. หลังจากนั้น ก็ลาออกจากโรงเรียนอัสสัมชัญ มาทำงานเป็นล่ามภาษาฝรั่งเศส ให้แก่อาจารย์ชาวฝรั่งเศสผู้หนึ่ง ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง
 
ในเดือนเมษายน [[พ.ศ. 2481]] ป๋วยสอบชิงทุนรัฐบาล (LSE) ได้ไปเรียนระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และการคลัง ที่ London School of Economics & Political Science แห่ง[[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ซึ่งหลังจากนั้นอีกเพียง 6 เดือน มารดาของป๋วยก็เสียชีวิตลง ป๋วยใช้เวลาสามปีก็สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ป๋วยเป็นนักเรียนดีเด่น และเป็นศิษย์เอกของ [[เฟรเดอริก ฮาเย็ก|ศาสตราจารย์เฟรเดอริก ฮาเย็ก]] (ซึ่งได้รับ [[รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์]] ในปี [[พ.ศ. 2517]]) ป๋วยเป็นคนไทยคนเดียว ในมหาวิทยาลัยนี้ที่สอบได้คะแนนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง ในบรรดาเกียรตินิยมอันดับหนึ่งด้วยกันในปี [[พ.ศ. 2485]] โดยได้เกรดเอแปดวิชา และเกรดบีหนึ่งวิชา
 
ป๋วยใช้เวลาสามปีก็สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ป๋วยเป็นนักเรียนดีเด่น และเป็นศิษย์เอกของ [[เฟรเดอริก ฮาเย็ก|ศาสตราจารย์เฟรเดอริก ฮาเย็ก]] (ซึ่งได้รับ [[รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์]] ในปี [[พ.ศ. 2517]]) ป๋วยเป็นคนไทยคนเดียว ในมหาวิทยาลัยนี้ที่สอบได้คะแนนสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง ในบรรดาเกียรตินิยมอันดับหนึ่งด้วยกันในปี [[พ.ศ. 2485]] โดยได้เกรดเอแปดวิชา และเกรดบีหนึ่งวิชา
 
== การศึกษา ==
* พ.ศ. 2476 - สำเร็จมัธยมศึกษาจาก [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]]
* พ.ศ. 2480 - [[ธรรมศาสตร์บัณฑิต]] [[มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง]]
* พ.ศ. 2484 - ปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง [[วิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน]] มหาวิทยาลัยลอนดอน
* พ.ศ. 2492 - ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ [[วิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน]] มหาวิทยาลัยลอนดอน
 
จากผลการเรียนอันดีเด่นของป๋วย ทำให้ได้รับทุนลีเวอร์ฮูล์ม (LSE) สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาเอกได้ทันที แต่ในระหว่างนั้น เกิด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ขึ้น ทำให้ป๋วยตัดสินใจทำงานเพื่อชาติ ทำให้ป๋วยจบปริญญาเอกภายหลังสงครามยุติในปี [[พ.ศ. 2491]] ป๋วยก็ได้เรียนสำเร็จปริญญาเอก โดยใช้เวลาสามปีทำวิทยานิพนธ์ "เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการควบคุมดีบุก"
== ประวัติการทำงาน ==
=== ช่วงแรก ===
เส้น 63 ⟶ 56:
 
=== งานการเมือง ===
จากผลการเรียนอันดีเด่นของป๋วย ทำให้ได้รับทุนลีเวอร์ฮูล์ม (LSE) สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาเอกได้ทันที แต่ในระหว่างนั้น เกิด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ขึ้น ทำให้ป๋วยตัดสินใจทำงานเพื่อชาติ
 
วันที่ [[8 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2484]] [[กองทัพญี่ปุ่น]]บุกประเทศไทย รัฐบาลไทยในสมัยนั้น ซึ่งมี [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศสงครามเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น และต่อมาก็ประกาศสงครามกับ[[สหราชอาณาจักร]]และ[[สหรัฐอเมริกา]] รัฐบาลไทยเรียกตัวคนไทย ในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ให้เดินทางกลับ โดยขู่ว่า ผู้ที่ไม่เดินทางกลับจะถูกถอดสัญชาติไทย ปรากฏว่าคนไทยจำนวนหนึ่ง ได้จัดตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นขึ้นทั้งในและนอกประเทศ ในนามของ[[ขบวนการเสรีไทย]] ภายในประเทศมี [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]] ผู้สำเร็จราชการ เป็นหัวหน้า ส่วนในสหรัฐอเมริกามี [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] อัครราชทูตไทย เป็นหัวหน้า เสรีไทยปฏิเสธการประกาศสงครามของรัฐบาลไทย ซึ่งทำให้สหรัฐอเมริกา ประกาศรับรองฐานะของเสรีไทย
 
เส้น 78 ⟶ 69:
 
เมื่อสงครามโลกยุติ นายป๋วยได้รับยศพันตรีแห่งกองทัพบกอังกฤษ ได้เป็นหนึ่งในผู้แทนไทย เดินทางไปเจรจาทางการทหาร และการเมืองกับฝ่ายอังกฤษ ที่นครแคนดี ประเทศศรีลังกา ได้ร่วมกับเสรีไทยจากอเมริกาอารักขา แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพระอนุชาที่กัลกัตตา จากนั้น นายป๋วยก็คืนยศทหารแก่กองทัพอังกฤษ แล้วกลับไปแต่งงานกับ มาร์กาเร็ต สมิท ในปี [[พ.ศ. 2489]] และเรียนต่อระดับปริญญาเอก ที่ [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]]
 
=== ครอบครัว ===
 
ดร ป๋วย มีบุตรดังต่อไปนี้
 
1. [[จอน อึ๊งภากรณ์]]
 
2. [[ไมตรี อึ๊งภากรณ์]]
 
3. [[ใจ อึ๊งภากรณ์]]
 
=== งานด้านการเงิน การคลัง ===
ปีใขนณะที่ป๋วยกำลังศึกษาอยู่ [[พ.ศ. 2491]] ป๋วยได้เรียนสำเร็จปริญญาเอก โดยใช้เวลาสามปีทำวิทยานิพนธ์ "เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการควบคุมดีบุก" แต่เนื่องจากสถานการณ์ภายในประเทศไทยอังกฤษ นายปรีดี พนมยงค์ ถูกทหารทำ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหาร]] ทำให้สถานการณ์ไม่ปลอดภัย ทางญาติขอให้ป๋วยยังไม่ต้องรีบกลับมา
 
[[ไฟล์:Puey in bank.jpg|thumb|195px|right|เมื่อครั้งดำรงผู้ว่าการ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]]]
เส้น 160 ⟶ 141:
 
วันที่ [[28 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2542]] อาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้ถึงแก่กรรมที่บ้าน ณ กรุงลอนดอน แคว้นอังกฤษ สหราชอาณาจักร เนื่องจากเส้นโลหิตใหญ่ในช่องท้องโป่งแตก (aortic aneurysm) อายุได้ 83 ปี "ตายแล้ว เผาผมเถิด อย่าฝัง คนอื่นจะได้มีที่ดินอาศัยและทำกิน และอย่าทำพิธีรีตองในงานศพให้วุ่นวายไป" จากข้อเขียน "[[จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน|คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน]]" วันที่ [[6 สิงหาคม]] พ.ศ. 2542 ทางครอบครัวได้ทำการเผาศพ และบรรจุอัฐินำกลับมาเมืองไทย วันที่ [[16 สิงหาคม]] และ วันที่ [[28 สิงหาคม]] บริเวณท่าเรือสัตหีบ เรือหลวงกระบุรี แห่งราชนาวีไทย ได้นำครอบครัวอึ้งภากรณ์ และแขกประมาณ 200 คน มุ่งหน้าสู่เกาะครามนำอังคารของอาจารย์ป๋วยไปลอยทะเล
 
== ชีวิตส่วนตัว ==
ป๋วย ได้แต่งงานกับมาร์เกรท สมิท สตรีชาวอังกฤษ โดยมีบุตร 3 คน ได้แก่ [[จอน อึ๊งภากรณ์]] [[ไมตรี อึ๊งภากรณ์]] [[ใจ อึ๊งภากรณ์]]
 
== คำกล่าวเกี่ยวกับป๋วย ==