ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือดาวอินโดจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
เสือดาวอินโดจีน ใน[[เขตอนุรักษ์สัตว์ป่าจิตวัน]]ของเมียนมามีปริมาณลดลงอย่างในช่วง 40 ปี ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 40–80 โดยอยู่ที่ประมาณ 2,000 ตัว จนกระทั่งในยุค 2000 มีสถานะเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ในท้องถิ่น<ref>{{cite journal | last1 = Aung| first1 = M. | last2 = Swe | first2 = K. K. | last3 = Oo | first3 = T. | last4 = Moe | first4 = K. K. | last5 = Leimgruber | first5 = P. | last6 = Allendorf | first6 = T. | last7 = Duncan | first7 = C. | last8 = Wemmer | first8 = C. | year = 2004 | id = {{citeseerx|10.1.1.61.3531}} | title = The environmental history of Chatthin Wildlife Sanctuary, a protected area in Myanmar (Burma) | journal = Journal of Environmental Management | volume = 72 | pages = 205–216 | doi=10.1016/j.jenvman.2004.04.013}}</ref>
 
ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ที่[[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] ในจังหวัดเพชรบุรี และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในจังหวัดอุทัยธานีและกาญจนบุรี โดยการศึกษาด้วยปลอกคอวิทยุในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 90 ที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พบว่าเสือดาวอินโดจีนตัวผู้มีพื้นที่หากินประมาณ 14.6–18.0 ตารางกิโลเมตร (5.6–6.9 ตารางไมล์) และตัวเมียที่ 8.8 ตารางกิโลเมตร (3.4 ตารางไมล์) เสือดาวอินโดจีนต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่ ๆ เป็นป่าอุดมสมบูรณ์มีปริมาณอาหารที่เพียงพอ ในระดับต่ำกว่า 500-500–600 เมตร (1,600-600–2,000 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล ในช่วงฤดูฝนถิ่นที่อยู่จะขยายกว้างออกไป<ref>Grassman, L. (1999). [http://www.felidae.org/LIBRARY/grassman_1999.pdf ''Ecology and behavior of the Indochinese leopard in Kaeng Krachan National Park, Thailand'']. Natural History Bulletin Siam Society 47: 77–93</ref>
 
และเสือดาวอินโดจีนจำนวน 10 ตัว ในพื้นที่ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จากการติดตามศึกษาราว 9–41 เดือน พบว่าตัวผู้มีพื้นที่หากิน 35.2–64.6 กิโลเมตร (13.6–24.9 ตารางไมล์) และตัวเมียขนาดใหญ่ 6 ตัว 17.8–34.2 กิโลเมตร 2 (6.9–13.2 ตารางไมล์) และทั้งหมดได้ขยายถิ่นที่อยู่ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน เสือดาวอินโดจีนทั้งหมดอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบที่มีความลาดชันและอยู่ใกล้แหล่งน้ำ<ref>Simcharoen, S., Barlow, A.C.D., Simcharoen, A., Smith, J.L.D. (2008). ''Home range size and daytime habitat selection of leopards in Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, Thailand.'' Biological Conservation 141 (9/2008): 2242–2250.</ref>