ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมวเบอร์มีส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ให้เป็นแบบเดิม
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Burmeser-Donna Summer.JPG|thumb|250px|right|แมวเบอร์มีสมิส]]
 
แมวเบอร์มีส หรือ Burmese cat มีสีทองแดงหรือน้ำตาลแดงเข้มทั่วตัว มีสีเข้มเป็นตำแหน่งพิเศษ9จุดเช่นเดียวกับแมววิเชียรมาศ แมวเบอร์มีสมีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย ถูกค้นพบครั้งในกรุงเทพมหานครสมัยรัชกาลที่5พร้อมกับ[[แมวขาวมณี]] แมวทั้ง2ชนิดนี้จึงไม่มีในบันทึกสมุดข่อยแมวสมัอยุธยาฯ แมวเบอร์มีสมีรูปร่างขนาดกลาง สง่า น้ำหนักตัวพอประมาณ ขายาวเรียวฝ่าเท้าอวบ ศีรษะค่อนข้างกลมกว้าง ด้วยสีขนออก น้ำตาลเข้ม มีตาสีเหลือง หรือสีอำพัน หนวดมีสีน้ำตาลเข้ม และมีแต้มเข้ม9แห่งคือ หน้า1จุด หูทั้ง2 ขาทั้ง4 หาง1 และอวัยวะเพศ1 แมวเบอร์มีสเป็นคนละสายพันธุ์กับแมวศุภลักษณ์ ทั้งพันธุกรรมสียีนส์สีขน ในอดีตชาวต่างชาติคิดว่าแมวเบอร์มีสคือแมววิเชียรมาศที่มีสีเพี้ยน จึงนำไปผสมกับแมววิเชียรมาศ ผลปรากฎว่าลูกออกมาไม่ใช่แมววิเชียรมาศ จึงได้นำไปจดทะเบียนเป็นแมวสายพันธุ์หนึ่งของโลก โดยใช้ชื่อว่า '''เบอร์มีส''' (Burmese) เพื่อให้ควบคู่กับแมววิเชียรมาศ หรือ Siamese cat แต่ถึงอย่างไรก็ตามแมวเบอร์มีสไม่ได้มีถิ่นกำเนิดใน[[ประเทศพม่า]]
'''แมวเบอร์มีส''', '''ทองแดง''' หรือ '''ศุภลักษณ์''' เป็นพันธุ์[[แมวบ้าน]]ซึ่งกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีการพัฒนาในสหรัฐอเมริกา
 
== ลักษณะพันธุกรรมศาสตร์ ==
แมวเบอร์มีสสมัยใหม่ส่วนใหญ่เป็นลูกหลานของแมวเพศเมียตัวหนึ่งชื่อ วงแมว (Wong Mau) ซึ่งซื้อจากพม่าไปอเมริกาใน ค.ศ. 1930 แล้วผสมพันธุ์กับแมว[[วิเชียรมาศ]] (สยาม)
 
แมวเบอร์มีสมีลักษณ์พันธุกรรมคล้ายคลึงกับแมววิเชียรมาศจนแทบจะเป็นายพันธุ์เดียวกัน เมื่อนำไปตรวจDNAผลปรากฎว่าแมวเบอร์มีสมีกระบอกใส่สีทั้ง9จุดเช่นเดียวกับแมววิเชียรมาศ คือมีแต้มเข้มเช่นเดียวกับแมววิเชียรมาศ แมวเบอร์มีสไม่ได้เป้นแมวสีล้วนทั้งตัวอย่างที่หลายคนเข้าใจ และที่แปลกนอกเหนือไปกว่านั้นคือแมวเบอร์มีสและแมววิเชียรมาศมียีนส์ขนสีดำ (B) แต่ถูกกลั่นสีขนให้แสดงออกมาภายนอกเป็นสีน้ำตาล แมววิเชียรมาศและแมวเบอร์มีสมีสิ่งที่ต่างกันได้ชัดคือสีของตา แมวเบอร์มีสมีดวงตาสีเหลือง ส่วนแมววิเชียรมาศมีดวงตาสีฟ้า เมื่อแมวทั้ง2ชนิดมีอายุมากขึ้น สีขนมันจะคล้ายๆกันจนทำให้คนเรียกผิด
เดิมแมวเบอร์มีสทุกตัวมีสีน้ำตาลเข้ม แต่ปัจจุบันมีได้หลายสี การรับรองสีอย่างเป็นทางการยังแตกต่างกันไปแล้วแต่มาตรฐาน ทั้งสองสายพันธุ์ต่างเป็นทราบกันว่ามีพื้นฐานอารมณ์ชอบเข้าสังคม ขี้เล่นเป็นเอกลักษณ์และเปล่งเสียงอย่างต่อเนื่อง<ref>http://burmesecatassociation.org/burmese/colours.html</ref><ref>http://www.catsofaustralia.com/burmese-cat-description.htm</ref><ref>http://www.cat-world.com.au/burmese-cat-breed-profile</ref>
 
== ลักษณะโดยทั่วไป ==
 
=== ประวัติความเป็นมาของแมวเบอร์มีส ===
แมวเบอร์มีสสมัยใหม่ได้รับการพัฒนาเบอมีส Burmese cat จุดกำเนิดแมวสายพันธุ์ Burmese โดย Dr.Joseph Thompson ท่านเป็นหมอประจำการทหารเรือในอเมริกา โดยส่วนตัวท่านชอบเลี้ยงสัตว์และรักแมวมาก จึงได้ทำฟาร์มแมว Siamese ในปี 1926 ซึ่งนำเข้าแมววิเชียรมาศมาจากประเทศไทยในขณะนั้น และในปี 1930 ท่านได้มามาท่องเที่ยวทั่วทวีปเอเซียกับทหารเรือ และได้ไปท่องเที่ยวที่ประเทศพม่า ท่านพบเห็นแมวจรตัวหนึ่งเห็นว่าสวยดี แมวตัวนี้มีสีน้ำตาลเข้ม และมีแต้มเข้มเหมือนกับแมววิเชียรมาศของท่าน จึงนำกลับประเทศอเมริกาและตั้งชื่อว่า วงแมว หรือ วงเมา (Wong Mau) Wongmauไม่ทราบที่มาว่าชื่อมาจากไหน เนื่องจากท่านมีพื้นฐานความรู้ เรื่องรื่องแมวอยู่แล้ว จึงเริ่มทำการค้นคว้าหาข้อมูลว่า แมวตัวนี้ เป็นแมวสายพันธุ์อะไร ถามเพื่อนๆก็ไม่ทราบ เหตุนี้เองจึงเริ่มผสมแมวสายพันธุ์นี้ขึ้น โดยใช้หลักการผสมคือ แมวเบอร์มีสเบอมีส เพศเมีย จากประเทศพม่า ชื่อ วงแมว (WongWongmau Mau) กับแมววิเชียรมาศของไทย เพศผู้ ชื่อ ไทยแมว Taimau และได้ลูกลุกแมวมาเป็นหลากหลายสายพันธุ์และหนึ่ง 1 ในนั้นเป็นแมวเบอร์มีสสายพันธุ์ใหม่ burmese จึงนำมาผสมกับแมววิเชียรมาศเรื่อยมา จนได้แมวตามสายพันธุ์ที่ต้องการ<ref>http://burmesecatassociation.org/burmese/history/origins.html</ref><ref name="ubcf">Theและได้ตั้งชื่อสายพันธุ์ว่านี้ Burmese Catcat by:เนื่องจาก Rosemond S. Peltz, MD</ref>ท่านเอาแมวมาจากประเทศพม่า แต่การนำแมวสายพันธุ์นี้จดทะเบียน ไม่ใช่ตัวท่าน เป็นผู้นำไปจด แต่จะเป็นกลุ่มผู้เพาะพันธุ์แมวเหมือนกันที่เห็นความสำคัญของแมวสายพันธุ์นี้ เป็นผู้นำแมวเบอร์มีส Burmese ไปจดทะเบียนได้สำเร็จในปี 1953 กับ สถาบัน CFA และสร้างชื่อเสียงให้คนรู้จักแมวสายพันธุ์นี้เป็นจำนวนมาก รวมถึงชาวอเมริกันและชาวยุโรปที่นิยมเลี้ยงแมวสายพันธุ์นี้กันอย่างกว้างขวาง<ref>http://www.burmesecatsociety.org.uk/the-history-of-the-burmese-cat/</ref><ref>http://messybeast.com/colourpoints.htm</ref>
 
ในช่วงปี 1980 สมาคมแมวของสหราชอาณาจักร Governing Council of the Cat Fancy (GCCF) ได้สั่งห้ามการลงทะเบียนแมวเบอร์มีสสายพันธุ์ใหม่ที่นำเข้ามาจากสหรัฐอเมริกาเพื่อที่จะรักษาสายพันธุ์ดั้งเดิมไว้<ref>{{cite web| url=http://www.gccfcats.org/regpols/burmeseregpol.pdf| title=Regpol| publisher=The [[Governing Council of the Cat Fancy]]| accessdate=2008-04-04|format=PDF}}</ref>
 
=== ลักษณะที่เป็นข้อเด่น ===
* '''ลักษณะสีขน :''' ขนสั้น สีน้ำตาลเข้มคล้ายสีสนิม (สีทองแดง) บริเวณส่วนหู ใบหน้า ปลายขา หาง จะมีสีน้ำตาลเข้มกว่าบริเวณลำตัวทั่วๆ ไป
* '''ลักษณะของส่วนหัว :''' ค่อนข้างกลมและกว้าง หนวดมีสีเหมือนลวดทองแดง หูใหญ่
* '''ลักษณะของนัยน์ตา :''' แมวชนิดนี้จะมีดวงตาออกเป็นลักษณะเหลืองๆ หรือออกสีอำพัน หนวดของแมวศุภลักษณ์จะมีสีแวววาวเหมือนกับลวดทองแดงเลยทีเดียว
* '''ลักษณะของหาง :''' หางยาว ปลายหางแหลมชี้ตรง โคนหางใหญ่และค่อยๆ เล็กเรียวกลมไปจนสุดปลายหาง ขาวยาวเรียวได้สัดส่วนกับลำตัว
 
=== ลักษณะที่เป็นข้อด้อย ===
ขนยาวเกินไป สีอ่อนเกินไป มีแต้มสีขาวปน เช่น ที่บริเวณหน้าอก หรือช่องท้อง มีไม่สม่ำเสมอ เช่น มีลายเห็นเป็นทางตามลำตัว โดยเฉพาะตามใบหน้า ขาและหาง นัยน์ตาสองข้างเป็นคนละสี หรือเป็นสีอื่น ตาเอียง จมูกหัก หูไม่ตั้ง หางสั้นมากเกินไป (เมื่อยืดขาหลังให้ขนานกับหาง ความยาวของหางสั้นกว่าขาเกิน 3 นิ้ว ) หางขอด หางหงิกงอ หางสะดุด ปลายหางคด ดุเกินไป เลี้ยงลูกไม่ดี บางตัวตาสีฟ้า
 
== บทกวีที่กล่าวถึงแมวเบอร์มีส ในต่างประเทศ==
 
แมวเบอร์มีสในต่างประเทศดั้งเดิมนั้นมีลักษณะเช่นเดียวกับแมวเบอร์มีสในประเทศไทย เนื่องจากชาวตะวันได้นำแมวชนิดนี้ไปเลี้ยงจากประเทศไทย แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไปหลายสิบปีจึงมาสมาคมแมวนานาชาติเกิดขึ้นใหม่มากมาย รวมถึงการพัฒนาสายพันธุ์ในฝั่งตะวันตก มาตราฐานแมเบอร์มีสในปัจจุบันมีมีลักษณะที่ต่างไปจากแมวเบอร์มีสแบบ original ในประเทศไทย กล่าวคือแมวเบอร์มีสในมาตราฐานของตะวันตกจะใบใบหน้าที่สั้นลงหรือหัก ลักษณะใบหู ดวงตา และอัตลักษณ์ภายนอกถูกพัฒนาผสมมากับแมวอื่นเพื่อให้มีความแปลกใหม่ ในมาตราฐานบางประเทศแมวเบอร์มีสมีขนาดเล็กลง แต่โดยรวมแล้วยังคงรักษายีนส์สีขนและความเป็นแมวเบอร์มีสไว้
 
== บทกวีที่กล่าวถึงแมวศุภลักษณ์ ==
 
[[ไฟล์:thaisupalux.jpg|thumb|150px|right|ภาพ[[แมวเบอร์มีสศุภลักษณ์]]จากสมุดข่อยโบราณ ลักษณะภายนอกคล้ายแมวเบอรีมิส ซึ่งไม่ใช่แมวเบอร์มีส]]
 
{{บทกวี|indent=1
เส้น 34 ⟶ 35:
|กรรษสรรพโทษแล้ว|สิ่งร้ายคืนเกษม}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Burmese (cat)|แมวเบอร์มีส}}
 
== อ้างอิง ==