ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมวเบอร์มิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Burmeser-Donna Summer.JPG|thumb|250px|right|แมวเบอร์มิส]]
 
แมวเบอร์มิส หรือ Burmese cat มีสีทองแดงหรือน้ำตาลแดงเข้มทั่วตัว อาจมีสีเข้มเป็นพิเศษตำแหน่งพิเศษ9จุดเช่นเดียวกับแมววิเชียรมาศ แมวเบอร์มิสมีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย ถูกค้นพบครั้งในกรุงเทพมหานครสมัยรัชกาลที่5พร้อมกับ[[แมวทองแดงขาวมณี]] แมวทั้ง2ชนิดนี้จึงไม่มีในบันทึกสมุดข่อยแมวสมัอยุธยาฯ แมวเบอร์มิสมีรูปร่างขนาดกลาง สง่า น้ำหนักตัวพอประมาณ ขายาวเรียวฝ่าเท้าอวบ ศีรษะค่อนข้างกลมกว้าง ด้วยสีขนออก น้ำตาลเข้ม เหมือนกับสีของทองแดง มีตาสีออกเหลือง หรือ สีอำพัน หนวดมีสีเหมือนลวดทองแดงสีน้ำตาลเข้ม และบริเวณตามส่วนของร่างกายมีแต้มเข้ม9แห่งคือ เช่นหน้า1จุด หูทั้ง2 ปลายขา และทั้ง4 หางจะมีสีน้ำตาลเข้มกว่าบริเวณลำตัวทั่วๆไป1 และอวัยวะเพศ1 แมวเบอร์มิสเป็นคนละสายพันธุ์ศุภลักษณ์จะมีกับแมวศุภลักษณ์ ทั้งพันธุกรรมสีสันสะดุดตาอย่างมากยีนส์สีขน และ มีความสวยงาม สมกับคำในอดีตชาวต่างชาติคิดว่า "แมวเบอร์มิส"คือแมววิเชียรมาศที่มีสีเพี้ยน จึงนำไปผสมกับแมววิเชียรมาศ เมื่อความนิยมได้แพร่หลายมากขึ้นผลปรากฎว่าลูกออกมาไม่ใช่แมววิเชียรมาศ ชาวต่างชาติจึงได้นำไปจดทะเบียนเป็นแมวสายพันธุ์หนึ่งของโลก โดยใช้ชื่อว่า '''เบอร์มีส''' (Burmese) เพื่อให้ควบคู่กับแมววิเชียรมาศ หรือ Siamese cat แต่ถึงอย่างไรก็ตามแมวเบอร์มิสไม่ได้มีถิ่นกำเนิดใน[[ประเทศพม่า]]
 
== ลักษณะพันธุกรรมศาสตร์ ==
 
แมวเบอร์มิสมีลักษณ์พันธุกรรมคล้ายคลึงกับแมววิเชียรมาศจนแทบจะเป็นายพันธุ์เดียวกัน เมื่อนำไปตรวจDNAผลปรากฎว่าแมวเบอร์มีสมีกระบอกใส่สีทั้ง9จุดเช่นเดียวกับแมววิเชียรมาศ คือมีแต้มเข้มเช่นเดียวกับแมววิเชียรมาศ แมวเบอร์มิสไม่ได้เป้นแมวสีล้วนทั้งตัวอย่างที่หลายคนเข้าใจ และที่แปลกนอกเหนือไปกว่านั้นคือแมวเบอร์มิสและแมววิเชียรมาศมียีนส์ขนสีดำ (B) แต่ถูกกลั่นสีขนให้แสดงออกมาภายนอกเป็นสีน้ำตาล แมวเบอร์มาศและแมวเบอร์มิสมีสิ่งที่ต่างกันได้ชัดคือสีของตา คือแมมวเบอร์มิสมีดวงตาสีเหลือง ส่วนแมววิเชียรมาศมีดวงตาสีฟ้า เมื่อแมวทั้ง2ชนิดมีอายุมากขึ้น สีขนมันจะคล้ายๆกันจนทำให้คนเรียกผิด
ปัจจุบัน ในเมืองไทยหายากมากแต่มีทั่วไปในอเมริกาและอังกฤษ ซึ่งได้มีการพัฒนาผสมพันธุ์กัน จนได้แมวในลักษณะ สีอื่น ๆ มากมาย ทำนองคล้ายพันธุ์วิเชียรมาศที่แยกออกไปถึง 8 พันธุ์
 
แมวศุภลักษณ์ เป็นแมวโบราณที่บุคคลชั้นสูงมักจะเลี้ยงกัน เพราะเป็นแมวที่ดี ผู้ใดได้ครอบครองจะร่ำรวย และจะความสุข สุขภาพดี การงานรุ่งเรื่อง ดังนั้นบุคคลชั้นสูงในสมัยก่อนจึงนิยมเลี้ยงแมวพันธุ์นี้
 
== ลักษณะโดยทั่วไป ==
 
=== ประวัติความเป็นมาของแมวเบอร์มิส ===
เส้น 22 ⟶ 19:
=== ลักษณะที่เป็นข้อด้อย ===
ขนยาวเกินไป สีอ่อนเกินไป มีแต้มสีขาวปน เช่น ที่บริเวณหน้าอก หรือช่องท้อง มีไม่สม่ำเสมอ เช่น มีลายเห็นเป็นทางตามลำตัว โดยเฉพาะตามใบหน้า ขาและหาง นัยน์ตาสองข้างเป็นคนละสี หรือเป็นสีอื่น ตาเอียง จมูกหัก หูไม่ตั้ง หางสั้นมากเกินไป (เมื่อยืดขาหลังให้ขนานกับหาง ความยาวของหางสั้นกว่าขาเกิน 3 นิ้ว ) หางขอด หางหงิกงอ หางสะดุด ปลายหางคด ดุเกินไป เลี้ยงลูกไม่ดี บางตัวตาสีฟ้า
 
==แมวเบอร์มิสในต่างประเทศ==
 
แมวเบอร์มิสในต่างประเทศดั้งเดิมนั้นมีลักษณะเช่นเดียวกับแมวเบอร์มิสในประเทศไทย เนื่องจากชาวตะวันได้นำแมวชนิดนี้ไปเลี้ยงจากประเทศไทย แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไปหลายสิบปีจึงมาสมาคมแมวนานาชาติเกิดขึ้นใหม่มากมาย รวมถึงการพัฒนาสายพันธุ์ในฝั่งตะวันตก มาตราฐานแมเบอร์มิสในปัจจุบันมีมีลักษณะที่ต่างไปจากแมวเบอร์มิสแบบ original ในประเทศไทย กล่าวคือแมวเบอร์มิสในมาตราฐานของตะวันตกจะใบใบหน้าที่สั้นลงหรือหัก ลักษณะใบหู ดวงตา และอัตลักษณ์ภายนอกถูกพัฒนาผสมมากับแมวอื่นเพื่อให้มีความแปลกใหม่ ในมาตราฐานบางประเทศแมวเบอร์มิสมีขนาดเล็กลง แต่โดยรวมแล้วยังคงรักษายีนส์สีขนและความเป็นแมวเบอร์มิสไว้
 
== บทกวีที่กล่าวถึงแมวศุภลักษณ์ ==
 
[[ไฟล์:thaisupalux.jpg|thumb|150px|right|ภาพ[[แมวศุภลักษณ์ศุภลักษณ์]]จากสมุดข่อยโบราณ ลักษณะภายนอกคล้ายแมวเบอร์มิส ซึ่งไม่ใช่แมวเบอร์มิส]]
 
{{บทกวี|indent=1