ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ใส่คำอธิบายง่ายๆให้คนที่สนใจได้ค้นคว้า
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
ทำคำอธิบายให้หนุ่มสาวคนรุ่นใหม่เข้าใจได้ง่ายๆ
บรรทัด 15:
* [[ความโศก]] [[ความคร่ำครวญ]] [[ทุกข์]] [[โทมนัส]] และ[[ความคับแค้นใจ]] ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
 
ปฏิจสมุปบาท ในภาษาไทยปัจจุบันนั้นแปลว่า หลักสภาวะของชีวิต โดยสรุปเป็นภาษาไทยง่ายๆกล่าวถึงการลำดับสภาวะชีวิตมนุษย์ว่าเกิดขึ้นมาเป็นร่างกายตัวตนจิตใจได้อย่างไร และจะหลุดพ้นไปได้อย่างไร บุคคลผู้รู้หลักสภาวะของชีวิต หรือ ปฏิจสมุปบาท เมื่อภาวะมาถึง หมั่นสวดท่องให้ขึ้นใจย่อมพาตนไปสู่ทางหลุดพ้นเป็นที่สุด เนื้อหากล่าวว่า ดังนี้
หลักสภาวะของชีวิต
* •เพราะ[[ความไม่แจ้งการเป็นกาย การเป็นใจ]]ดับ [[การปรุงแต่งเกิดขึ้นของความคิด ความรู้สึก]]จึงดับ
* •เพราะ[[การปรุงแต่งเกิดขึ้นของความคิด ความรู้สึก]]ดับ [[สัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆ]]จึงดับ
* •เพราะเพรา[[ะสัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆ]]ดับ [[ร่างกายตัวตนจิตใจ]]จึงดับ
* •เพราะ[[ร่างกายตัวตนจิตใจ]]ดับ [[ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส การรู้สัมผัส อารมณ์ที่เกิดทางใจ]]จึงดับ
* •เพราะ[[ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส การรู้สัมผัส อารมณ์ที่เกิดทางใจ]]ดับ [[การรับรู้ทั้งหมด]]จึงดับ
* • เพราะ[[การรับรู้ทั้งหมด]]ดับ [[สภาพของใจ]]จึงดับ
* •เพราะ[[สภาพของใจ]]ดับ [[สภาวะติดแน่นในความพึงใจและความใฝ่ที่ทำให้จิตใจยึดติดอยู่ในโลกและสรรพสิ่งของโลก]]จึงดับ
* •เพราะ[[สภาวะติดแน่นในความพึงใจและความใฝ่ที่ทำให้จิตใจยึดติดอยู่ในโลกและสรรพสิ่งของโลก]]ดับ [[ความยึดถือในสิ่งต่างๆ]]จึงดับ
* •เพราะ[[ความยึดถือในสิ่งต่างๆ]]ดับ [[ภาวะชีวิตของสัตว์หรือโลกอันเป็นที่อยู่ของสัตว์]]จึงดับ
* •เพราะ[[ภาวะชีวิตของสัตว์หรือโลกอันเป็นที่อยู่ของสัตว์]]ดับ [[ความเกิด]]จึงดับ
* •เพราะ[[ความเกิดดับ ความเสื่อม ความแปรปรวน ความสิ้น ความโศก ความคร่ำครวญ ความทุกข์ โทมนัส ความขุ่น]]จึงดับ [[กองทุกข์ทั้งมวล]]นี้มีการดับด้วยอาการอย่างนี้
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้นว่า
เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่ผู้แสวงหาทางหลุดพ้น