ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวออกซิไดซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[File:GHS-pictogram-rondflam.svg|thumb|ภาพที่เป็นสากลที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพสำหรับสารเคมีที่ทำให้เกิดอ๊อกซิเดชัน]]
'''ตัวรับอิเล็กตรอน'''เป็นสารที่เข้าทำ[[ปฏิกิริยารีดอกซ์]]โดยรับ[[อิเล็กตรอน]]จาก[[ตัวให้อิเล็กตรอน]]ทำให้เกิดการถ่ายเทอิเล็กตรอนขึ้น พลังงานในสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจากการถ่ายเทอิเล็กตรอนจากตัวรับอิเล็กตรอนที่เลวไปสู่ตัวรับอิเล็กตรอนที่ดีที่สุด และปล่อยพลังงานออกมา ที่นำไปใช้ในปฏิกิริยาต่างๆได้
[[Image:Dangclass5 1.png|thumb|125px|ฉลากสินค้าอันตรายสำหรับตัวทำอ๊อกซิเดชัน]]
'''ตัวทำอ๊อกซิเดชัน''' ({{lang-en|Oxidizing agent}}) ในสาขาเคมี มีความหมายสองอย่าง ความหมายแรกเป็นสายพันธ์เคมีชนิดหนึ่งที่แยกอิเล็กตรอนออกจากสายพันธ์เคมีอีกชนิดหนึ่ง มันเป็นส่วนประกอบหนึ่งในปฏิกริยาลดการอ๊อกซิเดชัน([[ปฏิกิริยารีดอกซ์]]) ({{lang-en|oxidation-reduction (redox) reaction}}) อีกความหมายหนึ่ง ตัวทำอ๊อกซิเดชันหรือตัวอ๊อกซิไดซ์ เป็นสายพันธ์เคมีชนิดหนึ่งที่ถ่ายโอนอะตอมที่มีกระแสไฟฟ้าลบ ปกติก็คืออ๊อกซิเจน ไปให้กับสารตั้งต้นชนิดหนึ่ง การสันดาป การระเบิดจำนวนมาก และปฏิกริยาแบบรีดอกอินทรีย์ ({{lang-en|organic redox reaction}}) เกี่ยวข้องกับปฏิกริยาถ่ายโอนอะตอม พลังงานในสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจากการถ่ายเทอิเล็กตรอนจากตัวรับอิเล็กตรอนที่เลวไปสู่ตัวรับอิเล็กตรอนที่ดีที่สุด และปล่อยพลังงานออกมา ที่นำไปใช้ในปฏิกิริยาต่างๆได้
 
== ตัวรับอิเล็กตรอนในสิ่งมีชีวิต ==