ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดิวเทอเรียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''ดิวเทอเรียม''' ({{lang-en|Deuterium}}) สัญญลักษณ์ '''<sup>2</sup>H''' ถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า'''ไฮโดรเจนหนัก''' เป็นหนึ่งในสองของ[[ไอโซโทป]]ของ[[ไฮโดรเจน]]ที่เสถียร โดยที่[[นิวเคลียสของอะตอม]]]มี[[โปรตอน]] 1 ตัวและ[[นิวตรอน]] 1 ตัว ในขณะที่ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่รู้จักกันทั่วไปมากกว่าที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โปรเทียม ({{lang-en|protium}}) มีเพียง[[โปรตอน]]เดียวเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน ดิวเทอเรียมมี'ความอุดมในธรรมชาติ' โดยพบในมหาสมุทรทั่วไปประมาณหนึ่งอะตอมใน 6420 อะตอมของไฮโดรเจน ทำให้ดิวเทอเรียมมีสัดส่วนที่ประมาณ 0.0156% (หรือ 0.0312% ถ้าคิดตามมวล) ของไฮโดรเจนที่เกิดในธรรมชาติทั้งหมดในมหาสมุทร ในขณะที่โปรเทียมมีสัดส่วนมากกว่า 99.98% ความอุดมของดิวเทอเรียมเปลี่ยนแปงเล็กน้อยตามชนิดของน้ำตามธรรมชาติ (ดู ค่าเฉลี่ยของน้ำในมหาสมุทรตามมาตรฐานเวียนนา) [[นิวเคลียสของอะตอม|นิวเคลียส]]ของดิวเทอเรียมเรียกว่า[[ดิวเทอรอน]]
 
เราใช้สัญลักษณ์ <sup>2</sup>H แทนดิวเทอเรียม อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งที่เราใช้ D แทนดิวเทอเรียม เช่นเมื่อเราต้องการจะเขียนสัญลักษณ์แทนโมเลกุลก๊าซดิวเทอเรียม จะสามารถเขียนแทนได้ว่า <sup>2</sup>H<sub>2</sub> หรือ D<sub>2</sub> ก็ได้