ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผลผลิตจากฟิชชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
ประมาณ 0.2% ถึง 0.4% ของการ fissions เป็น fissions แบบไตรภาค ({{lang-en|ternary fissions}}) ที่ผลิตนิวเคลียสเบาที่สามเช่นฮีเลียม-4 (90%) หรือทริเทียม (7%)
 
ตัวผลผลิตจากฟิชชันฟิชชันเองมักจะไม่เสถียรและแผ่กัมมันตรังสี เนื่องจากมันค่อนข้างจะที่อุดมไปด้วยนิวตรอนสำหรับอะตอมิกนัมเบอร์ของพวกมัน และพวกมันจำนวนมากก็มี[[การสลายแบบให้อนุภาคเบต้าบีตา]] ({{lang-en|beta decay}}) ได้อย่างรวดเร็ว การสลายตัวแบบนี้จะปลดปล่อยพลังงานเพิ่มเติมในรูปของอนุภาคเบต้าบีตา<ref>(ฟิสิกส์) อนุภาคบีตา น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอม กัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่ง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐,๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอํานาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสี แกมมา. (อ. beta rays)http://dict.longdo.com/search/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%B2</ref>, อนุภาคต้านนิวทริโน ({{lang-en|antineutrinos}})<ref>นิวทริโน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูง และมีปฏิสัมพันธ์กับสสารน้อย ทำให้ตรวจหาได้ยาก พบได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์หลายชนิด เช่น การสลายแบบให้อนุภาคบีตา รวมทั้งอนุภาคจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลก
[นิวเคลียร์]http://dict.longdo.com/search/Neutrino</ref>, และรังสีแกมมา ดังนั้นเหตุการณ์ฟิชชันตามปกติจะส่งผลให้มีการแผ่รังสีเบต้าบีตาและ antineutrinos แม้ว่าอนุภาคเหล่านี้จะไม่ได้มีการผลิตโดยตรงจากเหตุการณ์ฟิชชันก็ตาม
 
หลายไอโซโทป (ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกัน มีจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเท่ากันแต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน) เหล่านี้มีครึ่งชีวิตที่สั้นมาก ดังนั้นพวกมันจึงปลดปล่อยรังสีออกมาเป็นจำนวนมาก ยกตัวอย่างเช่น strontium-90, strontium-89 และstrontium-94 ทั้งหมดนี้เป็นผลผลิตจากปฏิกริยาฟิชชั่น พวกมันถูกผลิตออกมาในปริมาณที่คล้ายกัน และแต่ละนิวเคลียสจะสลายตัวโดยการยิงหนึ่ง[[อนุภาคบีตา|อนุภาคเบต้า]] ([[อิเล็กตรอน]]) ออกมา แต่ Sr-90 มีครึ่งชีวิตที่ 30 ปี, SR-89 มีครึ่งชีวิตที่ 50.5 วันและ Sr-94 มีครึ่งชีวิตที่ 75 วินาที เมื่อถูกสร้างเสร็จใหม่ ๆ Sr-89 จะพ่นอนุภาคเบตาบีตาเร็วกว่า Sr-90 ถึง 10,600 เท่าและ Sr-94 จะพ่นอนุภาคเบตาบีตาเร็วกว่า Sr-90 ถึง 915 ล้านเท่า เป็นเพราะไอโซโทปครึ่งชีวิตสั้นเหล่านี้ที่ทำให้เชื้อเพลิงใช้แล้วเป็นอันตรายอย่างมาก (นอกเหนือไปจากความร้อนที่ถูกสร้างขึ้นอย่างมาก) ทันทีหลังจากที่เครื่องปฏิกรณ์ได้ถูกปิดลง. ข่าวดีก็คือสิ่งอันตรายที่สุดจะจางหายไปอย่างรวดเร็ว หลังจาก 50 วัน Sr-94 มีครึ่งชีวิตที่ 75 วินาที ดังนั้นมันจึงหายหมด 100%; Sr-89 เหลืออยู่ครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม แต่ Sr-90 ยังคงมีอยู่ 99.99% เนื่องจากมีหลายร้อยไอโซโทปที่แตกต่างกันได้ถูกสร้างขึ้น การแผ่รังสีที่สูงในช่วงเริ่มต้นจางหายไปอย่างรวดเร็ว แต่ไม่ได้จางหายหมดไปอย่างสมบูรณ์<ref>F. William Walker, Dr. George J. Kirouac, Francis M. Rourke. 1977. ''Chart of the Nuclides'', twelfth edition. Knolls Atomic Power Laboratory, General Electric Company.</ref>
 
== อ้างอิง ==