ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
บทความหลัก: [[การแบ่งแยกนิวเคลียส|นิวเคลียร์ฟิชชัน]]
 
เมื่อนิวเคลียสของอะตอมขนาดใหญ่ที่มีคุณสมบัติฟิชชั่น<ref>วัสดุฟิสไซล์เป็นวัสดุสามารถให้ความยั่งยืนกับปฏิกริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ฟิชชั่น ซึ่งประกอบด้วยธาตุที่นิวเคลียสแบ่งแยกได้โดยนิวตรอนทุกพลังงาน โดยเฉพาะกับเทอร์มัลนิวตรอน วัสดุฟิสไซล์ที่สำคัญ เช่น พลูโทเนียม-239 ยูเรเนียม-235 และยูเรเนียม-233 วัสดุฟิสไซล์นี้บางครั้งเรียกว่า วัสดุเกิดฟิชชันได้ [นิวเคลียร์]</ref> เช่นยูเรเนียม-235 หรือพลูโตเนียม-239 ดูดซับนิวตรอน มันอาจเกิดนิวเคลียร์ฟิชชั่น นิวเคลียสหนักจะแยกออกเป็นนิวเคลียสที่เบากว่า (ผลิตภัณฑ์ผลผลิตจากฟิชชัน ({{lang-en|Fission product}}) )สองตัวหรือมากกว่า พร้อมกับปล่อยพลังงานจลน์ รังสีแกมมา และนิวตรอนอิสระออกมามากมาย ส่วนหนึ่งของนิวตรอนเหล่านี้ต่อมาอาจถูกดูดซึมโดยอะตอมที่มีคุณสมบติฟิชชั่นอื่น ๆ และก่อให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปซึ่งจะปล่อยนิวตรอนมากขึ้น และซ้ำ ๆ ไปเรื่อย ๆ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่าปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ ({{lang-en|nuclear chain reaction}})
 
เพื่อควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ สารดูดกลืนนิวตรอน ({{lang-en|neutron poison หรือ neutron absorber}})<ref>สารพอยซัน(ต่อปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่ฟิชชั่นในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์], อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.</ref> และ ตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน ({{lang-en|Neutron moderator}}) สามารถลดปริมาณบางส่วนของนิวตรอนที่จะไปทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชัน ทำให้ปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ลดลง<ref name="DOE HAND"/>. เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทั่วไปมักจะมีระบบอัตโนมัติและคู่มือที่จะปิดปฏิกิริยาฟิชชันลงหากระบบการตรวจสอบตรวจพบสภาวะที่ไม่ปลอดภัย<ref>