ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอเลสเตอรอล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kultida11 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
== อาหารที่ลดคอเลสเตอรอล ==
{{chembox
| ImageFile=Cholesterol.svg
เส้น 29 ⟶ 28:
}}
 
'''คอเลสเตอรอล''' ({{lang-en|Cholesterol}}) เป็นทั้งสาร [[สเตอรอยด์]](steroid) [[ลิพิด]](lipid) และ [[แอลกอฮอล์]] พบใน [[เยื่อหุ้มเซลล์]]ของทุกเนื้อเยื้อใน[[ร่างกาย]]และถูกขนส่งในกระแส[[เลือด]]ของ[[สัตว์]] คอเลสเตอรอลส่วนใหญ่ไม่ได้มากับอาหารแต่จะถูกสังเคราะห์ขึ้นภายในร่างกาย จะสะสมอยู่มากในเนื้อเยื้อของอวัยวะที่สร้างมันขึ้นมาเช่น [[ตับ]] [[ไขสันหลัง]] (spinal cord) [[สมอง]] และ [[ผนังหลอดเลือดแดง]] (atheroma) คอเลสเตอรอลมีบทบาทในกระบวนการทางชีวเคมีมากมาย แตที่รู้จักกันดีคือ มันเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรค[[หัวใจและระบบหลอดเลือด]] (cardiovascular disease) และภาวะ[[คอเลสเตอรอล|คอเลสเตอรอลในเลือดสูง]] (Hypercholesterolemia)
''''''คอเลสเตอรอล'''''' คือ
ไขมันชนิดหนึ่งมีคุณสมบัติที่ไม่ละลายน้ำ สะสมอยู่ตามส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์และสัตว์ในรูปของก้อนไขมันสีขาว
นอกจากอยู่ในเลือดแล้วยังครอบคลุมทุกส่วนในร่างกาย เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อของเซลล์จำนวนมากมายนับไม่ถ้วนที่ประกอบขึ้นเป็นมนุษย์ ร่างกายมีคอเลสเตอรอลประมาณ 100-150 กรัม แต่ในเลือดมีเพียงประมาณ 10 กรัมเท่านั้น
 
 
== คอเลสเตอรอลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ==
1. <big>[[LDL คอเลสเตอรอล]]</big> มาจากคำว่า ‘''Low Density Lipoprotein''’ (ไขมันไม่ดี) เป็นไขมันที่สามารถทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งตัวได้ ''LDL'' ทำหน้าที่ลำเลียงคอเลสเตอรอลทั้งหลายออกจากตับเข้าสู่กระแสเลือดในร่างกาย หากคอเลสเตอรอลเหลืออยู่ในกระแสเลือด ก็จะสะสมเป็นตุ่มเกาะอยู่ตามผนังของหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดแข็ง เกิดภาวะหลอดเลือดตีบ นานเข้าก็จะทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดอุดตัน และส่งผลต่อการเป็นโรคความดันสูง โรคหัวใจขาดเลือด ไตวาย อัมพาตอัมพฤกษ์ เป็นต้น
2. <big>[[HDL คอเลสเตอรอล]]</big> มาจากคำว่า ‘''High Density Lipoprotein''’ (ไขมันที่ดี) เป็นไขมันที่มีความหนาแน่นสูง ''HDL'' ดีกับหลอดเลือดแดงเนื่องจาก ช่วยป้องกันไม่ให้ คอเลสเตอรอล, ไตรกลีเซอไรด์, และ LDL สะสมในหลอดเลือดแดง หากขาด HDL ในเลือด ก็จะทำให้เป็นการเพิ่มโอกาสการเป็นโรคเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือดได้
 
 
== การทานอาหารเพื่อลดคอเลสเตอรอล ==
อย่าทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลมาก เลือกทานอาหารจำพวกโปรตีน เช่น ไข่ ปลา หรือเนื้อสัตว์ เต้าหู้ ปลาทอดกรอบเล็กๆ หรือนมที่มีแคลเซียมสูง หรือทานอาหารรสอ่อนพออิ่มท้อง และห้ามงดอาหารเช้าแต่ควรงดเหล้า ข้าวกับไขมันหรือของหวาน ส่วนโปรตีนไม่ควรลดมากเกินไป และไม่ควรขาดวิตามิน เกลือแร่ และอาหารจำพวกเส้นใย โดยเฉพาะแคลเซียม เหล็ก วิตามินA และอื่นๆ
 
 
== ตัวอย่างอาหารที่ไม่เพิ่มคอเลสเตอรอล==
=== ปลาซาบะทอด ===
'''เครื่องปรุงสำหรับ 4 คน'''<br />
 
ปลาซาบะ.............................................4 ชิ้น <br />
เหล้าสาเก.............................................1⅓ ช้อนโต๊ะ <br />
น้ำขิง...................................................นิดหน่อย <br />
โชยุ....................................................1⅓ช้อนโต๊ะ<br />
 
แป้งมันฝรั่ง............................................พอเหมาะ<br />
 
น้ำมันสำหรับทอด.....................................พอเหมาะ<br />
 
 
'''ปริมาตรสารอาหาร
(สำหรับ 1 คน)'''<br />
 
●พลังงาน 231 กิโลแคลอรี่<br />
●โปรตีน 14.1 กรัม<br />
 
●เกลือ 0.6 กรัม <br />
 
●วิตามิน E 1.9 มิลลิกรัม<br />
 
 
●วิธีปรุง
1.นำปลาซาบะคลุกกับ เหล้าสาเก น้ำขิง โชยุ ทิ้งไว้ 15 นาที<br />
 
2.จากนั้นบีบน้ำออกโรยด้วยแป้งมนฝรั่ง<br />
 
3.ทอดด้วยน้ำมันร้อนประมาณ 170 องศาเซลเซียส โดยทอดให้สุกจนทั่ว
 
 
 
 
ร่างกายใช้คอเลสเตอรอลเป็นสารเบื้องต้นในการสร้างฮอร์โมนเพศทุกชนิด สร้างน้ำดี สร้างสารสเตอรอลที่อยู่ใต้ผิวหนังให้เป็นเป็นวิตามิน D เมื่อโดนแสงแดด คอเลสเตอรอลจะพบมากในไข่แดง เครื่องในสัตว์ และอาหารทะเล ค่อนข้างสูง ร่างกายสามารถสังเคราะห์เองได้แต่ไม่เพียงพอกับความต้องการ
 
การรับประทานกรดไขมันที่จำเป็นโดยเฉพาะกรดไลโนเลอิกในปริมาณที่พอเพียงและเลี่ยงอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง บวกกับการออกกำลังกาย จะช่วยลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดอุดตัน สาเหตุของการเกิดโรคหัวใจและอัมพาต
 
== ประวัติของชื่อ ==
คำว่า คอเลสเตอรอล มาจากคำในภาษากรีก ''chole-''หมายถึง [[น้ำดี]] (bile) และ ''stereos'' หมายถึงของแข็ง (solid) เนื่องจากนักวิจัยตรวจพบ คอเลสเตอรอลในสภาพเป็นของแข็งที่เป็น[[นิ่วในถุงน้ำดี]](gallstone)
 
== การค้นพบ ==
ฟรองซัวส์ เด ลา แซลล์ (François Poulletier de la Salle) อธิบายเป็นครั้งแรกถึงคอเลสเตอรอลที่พบในนิ่วในถุงน้ำดี ในปี 1769 ต่อมาในปี 1815 อูจีน เชฟเรอล (Eugène Chevreul) ให้ชื่อสารชนิดนี้ว่า คอเลสเตอริน (cholesterine)
 
== สรีรวิทยา ==
=== การและการนำเข้าสู่ร่างกาย ===
[[ไฟล์:HMG-CoA reductase pathway.png|300px|thumb|right|กระบวนการสังเคราะห์คอเลสเตอรอลใน HMG-CoA reductase pathway]]