ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บูเช็กเทียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไร้นาม (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dexbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Parsoid bug phab:T107675
บรรทัด 156:
สมเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจงทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ในขณะที่ทรงมีพระชมน์มายุเพียง 21 ปี ทรงเป็นผู้ด้อยประสบการณ์และความสามารถ ประกอบกับมีสุขภาพที่อ่อนแเอ<ref name="Paludan, 96" /> หากทรงได้รับการแต่งตั้งจากพระราชบิดาจักรพรรดิถังเกาจงให้ทรงเป็นองค์รัชทายาทเนื่องจากความอัปยศของพระเชษฐาทั้งสองของพระองค์<ref name="Paludan, 93" />
 
<nowiki> </nowiki>สมเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจงนั้นทรงเป็นผู้ที่มีร่างกายอ่อนแอหากแต่มีจิตใจที่ดี แม้ว่าพระองค์จะค่อนข้างไปทางหูเบาและฝักใฝ่ในกามารมณ์ ไม่นานหลังจากขึ้นครองราชย์พระองค์ทรงหลงไหลและโปรดปรานในตัว[[พระสนมเซียว]] (แซ่เซียว นามว่าฮุ่ยจือ ซึ่งเดิมเป็นสตรีสามัญชน) (อังกฤษ: Consort Xiao; จีน: 宵恕妃; พินอิน: Xiāo shù fēi) อย่างมาก จนต่อมาในภายหลังถึงกับโปรดเกล้าฯให้สถาปนานางขึ้นเป็นพระมเหสีลำดับที่ 3 ออกพระนามว่า พระมเหสีเซียว 
 
จักรพรรดินีหวางทรงตระหนักดีว่าพระราชสวามีโปรดปรานพระสนมเซียวมาก จนทรงกลัวว่าจะส่งผลถึงฐานะของพระนาง ซึ่งก็เป็นความจริงดังที่องค์จักรพรรดินีทรงกังวล เพราะไม่นานต่อมาพระสนมเซียวก็ทรงพระครรภ์และให้พระประสูติการพระราชกุมารพระองค์น้อยที่มีสุขภาพแข็งแรง ทรงพระนามว่า [[เจ้าฟ้าชายหลี่ซู่เจี๋ย]] (Li Sujie) และธิดา 2 พระองค์ คือ เจ้าหญิงยี่หยาง (Yiyang) และเจ้าหญิงซวนเฉิง (Xuancheng) แก่จักรพรรดิเกาจง องค์จักรพรรดิทรงปีติยินดีอย่างยิ่ง ถึงกับโปรดเกล้าฯให้สถาปนาพระราชโอรสพระองค์น้อยขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งรัฐสี่ (喜王) ตั้งแต่แรกประสูติทีเดียว และยังมีพระราชปรารภว่าจะให้ดำรงตำแหน่งรัชทายาทอีกด้วย พระอัครมเหสีหวางทรงตื่นตกใจมากและได้พยายามใช้กุศโลบายทุกทางจนสามารถเปลี่ยนพระทัยสมเด็จพระจักรพรรดิเกาจงให้สถาปนาพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในบรรดาพระราชโอรสทั้งหมด คือ พระองค์เจ้าชายหลี่จง กษัตริย์แห่งรัฐเอี้ยน (燕王) ซึ่งมีพระมารดาเป็นเพียงพระสนม คือพระสนมหลิว ซึ่งเป็นพระญาติกับพระจักรพรรดินีหวางทางฝ่ายพระมารดาให้เป็นองค์รัชทายาทแทนได้สำเร็จ ทำให้พระสนมเซียวโกรธแค้นอย่างยิ่ง
บรรทัด 271:
ช่วงต้นของการขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระจักรพรรดินีบูเช็กเทียนนั้น เริ่มต้นด้วยความหวั่นกลัวของเหล่าข้าราชการในหน่วยสืบสวนลับที่ทรงตั้งขึ้นในระยะเวลาหลายปี อย่างไรก็ตามพระนางก็ได้รับการยอมรับและยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ที่ชื่นชอบพระองค์ว่าเป็นผู้ปกครองที่บริหารราชการด้วยพระปรีชาสามารถและเอาใจใส่ในการบริหารราชการ นอกจากนั้นพระนางยังทรงได้รับการยกย่องในเรื่องการจัดระบบการคัดเลือกข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถเพื่อเข้ารับราชการในราชสำนัก (การสอบขุนนาง) ในตลอดช่วงเวลาของราชวงศ์ถังและส่งผลในราชวงศ์ต่อมาอีกหลายราชวงศ์<ref>See, e.g., ''Zizhi Tongjian'', [[:zh:s:資治通鑑/卷234|vol. 234]] [submission of [[Lu Zhi (Tang dynasty)|Lu Zhi]] to [[จักรพรรดิถังเต๋อจง]], citing Wu Zetian as the prime example of a capable selector of officials]; [[Zhao Yi]]'s ''[[Notes of the Twenty-Two Histories]]'' (二十二史劄記), ''Empress Wu Accepted Corrections and Knew People''.[http://ctwang.myweb.hinet.net/22szj/300/0260.htm], .</ref>
 
<nowiki> </nowiki>15 ปี ต่อมา ในปี ค.ศ. 705 พระนางบูเช็กเทียนทรงถูกทำรัฐประหารโดยอดีตจักรพรรดิถังจงจง หลังการทำรัฐประหารสำเร็จพระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์เป็นอีกครั้ง หากพระนางบูเช็กเทียนก็ยังคงใช้พระอิสริยยศ "จักรพรรดิ" หรือ "หวงตี้" หรือ "emperor" ต่อจนกระทั่งสวรรคตในปีเดียวกันนั้นเอง
 
====การจลาจลในปี ค.ศ. 684====