ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลทหาร (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
KengSiri (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
== คดีที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ==
ศาลทหาร มีอำนาจ พิจารณาพิพากษาลงโทษผู้กระทำความผิดอาญาซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารในขณะกระทำผิด สั่งลงโทษบุคคลใดๆ ที่กระทำผิดฐานและละเมิดอำนาจศาล นอกจากนี้ยังกำหนดให้มีอำนาจในการพิจารณาคดีอย่างอื่นได้อีกตามที่จะมีกฎหมายบัญญัติเพิ่มเติม ที่เคยมีมาแล้วเช่น ความผิดฐานกระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เป็นต้น สำหรับอำนาจในการรับฟ้องคดีของศาลทหารแบ่งได้ดังนี้ '''ศาลจังหวัดทหาร'''จะรับฟ้องคดีที่จำเลยมีชั้นยศเป็นนายทหารประทวน '''ศาลมณฑลทหาร'''จะรับฟ้องคดีที่จำเลยมีชั้นยศตั้งแต่ชั้นประทวนจนถึงชั้นยศสัญญาบัตรแต่ไม่เกินพันเอก ส่วน'''ศาลทหารกรุงเทพ'''จะรับฟ้องได้หมดทุกชั้นยศ นอกจากนี้ชั้นยศจำเลยมีผลต่อการแต่งตั้งองค์คณะตุลาการที่จะพิจารณาคดีด้วย โดยองค์คณะตุลาการที่จะแต่งตั้งนั้นอย่างน้อยต้องมีผู้ที่มียศเท่ากันหรือสูงกว่าจำเลย
 
โดยการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 ได้มีประกาศ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ได้ระบุไว้ว่าความผิดที่ต้องขึ้นศาลทหารมี 4 ประเภท คือ 1.ความผิดตาม[[มาตรา 112]] 2.ความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธ 3.ความผิดฐานขัดคำสั่ง คสช. และ 4.ความผิดด้านความมั่นคง<ref>http://m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1441772078</ref>
 
== คดีที่ไม่อยู่ในอำนาจศาลทหาร ==
เส้น 39 ⟶ 41:
* [http://www.intell.rtaf.mi.th/newsdetail.asp?id=1916 ระบบยุติธรรมทหาร] จาก เรืออากาศเอก พงศธร สัตย์เจริญ, 2547
* [http://www.ilaw.or.th/node/3118 Q&A 10 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับศาลทหาร] โดยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw)
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{องค์กรตามรัฐธรรมนูญของไทย}}
{{ศาลไทย}}