ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตริงคอมโบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ประวัติวงสตริงของไทย: ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 11:
 
=== ประวัติวงสตริงของไทย ===
มาถึงกำเนิดสตริงสัญชาติ[[ไทย]] ช่วง พ.ศ. 2503-2515 วงการดนตรีของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลผลงานเพลงของดนตรี[[ตะวันตก]]ที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจวัยโจ๋ยุคในสมัยนั้นไม่ขาดสาย อาทิได้แก่วง เดอะ บีตเทิ่ลส์,บิทเทิล เดอะ ชาโดว์, คลิฟโดของ[[คลิฟฟ์ ริชาร์ด]] และ[[เอลวิส เพรสลี่ย์ลีย์]] ฯลฯ แทบทุกรายวงดนตรีมากับกีต้าร์กีตาร์ 3 ตัว กลอง 1 ชุด พร้อมๆพร้อม ๆ กันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากล ได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน เมื่อ[[สหรัฐอเมริกา]]มาตั้งฐานทัพใน[[ประเทศไทย]]สมัย[[สงครามเวียดนาม]] เพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเช่นกัน วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้นเช่น วงซิลเวอแซนด์ วงรอแยลสไปรท์ ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแบบเป็นส่วนใหญ่
 
[[พ.ศ. 2512]] ได้จัดการประกวดวงสตริงคอมโบ้โบแห่งประเทศไทยขึ้น โดยมีกติกาการแข่งขันว่า เล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง เพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง วงที่ชนะเลิศคือ วง[[ดิอิมพอสซิเบิล]] ซึ่งเดิมเป็นวงอาชีพเล่นอยู่แถบถนนเพชรบุรีตัดใหม่ในนามวงจอยท์รีแอคชั่นหรือ เจ-ทรี (ฮอลิเดย์ เจ-ทรีตามชื่อสถานบันเทิงที่เล่น) ชื่อดิอิมพอสซิเบิลซึ่งเปลี่ยนก่อนแข่งได้มาจาก การ์ตูนในโทรทัศน์ยุคนั้น ดิอิมพอสซิเบิลโด่งดังเหลือหลาย นักดนตรีประกอบด้วย [[เศรษฐา ศิระฉายา]] [[วินัย พันธุรักษ์]] [[อนุสรณ์ พัฒนกุล]] [[สิทธิพร อมรพันธ์]] และ[[พิชัย คงเนียม]] ครองรางวัลชนะเลิศ 3 ปีซ้อน
เมื่อครั้ง[[สหรัฐอเมริกา]]เข้ามาตั้งฐานทัพในไทย เพลงตะวันตกมีบทบาทสูงยิ่งอีกครั้ง วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้น เช่น วงจอยท์ รีแอ็กชั่น วงซิลเวอร์แซนด์ วงรอยัลสไปรต์ส ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแผ่นเสียงเป็นส่วนใหญ่
 
ประวัติศาสตร์วงการดนตรีไทยต้องบันทึกไว้ในฐานะวงดนตรีประเภทสตริงคอมโบ้วงแรกที่สร้างความรู้สึกเป็นสากลและเป็นวงแรกอีกเช่นกันเปิดทางให้วัยรุ่นฟังเพลงไทยแนวใหม่ ความสำเร็จขั้นสูงสุดทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์ตลอดจนผู้ประพันธ์เพลงให้ความสนใจกับวงดนตรีประเภทนี้มากขึ้น เวลาเดียวกันวงดนตรีวงอื่นๆ ได้รับความนิยมตามมาเช่น วงพี่เอ็มไฟร์ (P.M.5) วงแฟนตาซี วง[[แกรนด์เอ็กซ์]] วง[[ชาตรี]] [[ดิ อินโนเซ้นท์]] ฯลฯ จากนั้นเข้าสู่ยุดแฟนฉัน ([[ชาตรี]]) ทำให้สตริงคอมโบโด่งดังเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
ประวัติวงสตริงในเมืองไทย
สตริงหรือสตริงคอมโบ้ ( String Combo ) เป็นวงดนตรีประเภทเครื่องสายอย่างตะวันตกมีขนาดเล็กเกิดใหม่จากการดัดแปลงวงคอมโบ้รวมมิตรกับวงชาโดว์
วงคอมโบ้ (Combo Band) หมายถึงวงดนตรีขนาดเล็กมุ่งประกอบการขับร้อง มีจำนวนเครื่องดนตรีไม่แน่นอนแล้วแต่ความสะดวกแต่หลักๆมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต เทเนอร์แซกโซโฟน อัลโตแซกโซโฟน ทอมโบน เปียโน กีตาร์คอร์ด กีตาร์เบส กลองชุด เครื่องดนตรีประกอบจังหวะอื่นๆได้แก่ กลองทอมบ้า ฉิง ฉาบ เป็นต้น ปัจจุบันนำหางเครื่องหรือปัจจุบันเรียกแดนเซอร์ มาเต้นประกอบเพื่อให้เกิดความสวยงามยิ่งขี้น มีการส่งเสริมจัดการประกวดวงคอมโบ้หลายเวที เช่น รายการชิงช้าสวรรค์ ช่อง9 อ.ส.ม.ท เวทียามาฮ่าลูกทุ่งคอนเทสก์ เวทีลูกทุ่ง ปปส.เป็นตัน
วงชาโดว์ (Shawdo Band) เป็นวงดนตรีขนาดเล็กๆเคลื่อยย้ายสะดวก ประกอบด้วยเครื่องดนตรี กีตาร์ลีด กีตาร์คอร์ด กี่ตาร์เบส กลองชุด แบ่งวิวัฒนาการออกเป็น 2 สมัย 1.ได้แก่ วงชาโดว์แนวบูล คันทรี โฟลก์ 2.วงชาโดว์แนวร๊อคเป็นต้นฉบับให้กับร๊อครุ่นหลังถึงปัจจุบัน บรรพบุรุษร๊อคนี้เรียกว่า คลาสสิกร๊อค มาถึงกำเนิดสตริงสัญชาติไทย (พ.ศ. 2503-2515)
วงการดนตรีไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นลำดับเนื่องจากอิทธิพลของดนตรีตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามาโดนใจวัยโจ๋ในสมัยนั้นไม่ขาดสายได้แก่วง เดอะบิทเทิล เดอะชาโดของคลิฟ ริชารด์ เอลวิส เพรสลีย ฯลฯ แทบทุกวงดนตรีมากับกีตาร์ 3 ตัว กลองชุด พร้อมๆกันนั้นวงดนตรีของไทยก็เริ่มหันมาเล่นเพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน
เมื่ออเมริกามาตั้งฐานทัพในประเทศไทยสมัยสงครามเวียดนาม เพลงสากลได้รับความนิยมไม่น้อยเหมือนกัน วงดนตรีของไทยที่เล่นเพลงสากลในสมัยนั้นเช่น วงซิลเวอแซนด์ วงรอแยลสไปรท์ ฯลฯ ร้องและเล่นตามต้นแบบเป็นส่วนใหญ่
พ.ศ. 2512 ได้จัดการประกวดวงสตริงคอมโบ้แห่งประเทศไทยขึ้นมีกติกาการแข่งขันว่า เล่นเพลงสากล 1 เพลง เพลงไทยสากล 1 เพลง เพลงพระราชนิพนธ์ 1 เพลง วงที่ชนะเลิศคือ วงดิอิมพอสซิเบิล ซึ่งเดิมเป็นวงอาชีพเล่นอยู่แถบถนนเพชรบุรีตัดใหม่ในนามวงจอยท์รีแอคชั่นหรือ เจ-ทรี (ฮอลิเดย์ เจ-ทรีตามชื่อสถานบันเทิงที่เล่น) ชื่อดิอิมพอสซิเบิลซึ่งเปลี่ยนก่อนแข่งได้มาจาก การ์ตูนในโทรทัศน์ยุคนั้น ดิอิมพอสซิเบิลโด่งดังเหลือหลาย นักดนตรีประกอบด้วย เศรษฐา ศิระฉายา วินัย พันธุรักษ์ อนุสรณ์ พัฒนกุล สิทธิพร อมรพันธ์ และพิชัย คงเนียม ครองรางวัลชนะเลิศ 3 ปีซ้อน
ประวัติศาสตร์วงการดนตรีไทยต้องบันทึกไว้ในฐานะวงดนตรีประเภทสตริงคอมโบ้วงแรกที่สร้างความรู้สึกเป็นสากลและเป็นวงแรกอีกเช่นกันเปิดทางให้วัยรุ่นฟังเพลงไทยแนวใหม่ ความสำเร็จขั้นสูงสุดทำให้ผู้สร้างภาพยนตร์ตลอดจนผู้ประพันธ์เพลงให้ความสนใจกับวงดนตรีประเภทนี้มากขึ้น เวลาเดียวกันวงดนตรีวงอื่นๆ ได้รับความนิยมตามมาเช่น วงพี่เอ็มไฟร์ (P.M.5) วงแฟนตาซี วงแกรนด์เอ็กซ์ วงชาตรี ฯลฯ
จากนั้นเข้าสู่ยุดแฟนฉัน (วงชาตรี) ครีกครืนรื่นเริงเรื่อยมาถึงทุกวันนี้
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==