ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแอบถ่าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
== กฏหมายของไทยเกี่ยวกับการถ่ายภาพ ==
* '''การถ่ายภาพบุคคลในที่สาธารณะ''' สรุป สามารถทำได้ ไม่ละเมิด เพราะมีคำตัดสินของศาลฎีกา ให้ยึดถือว่า บุคคลที่อยู่ในที่สาธารณะ ย่อมถูกถ่ายภาพได้แม้เจ้าตัวไม่ยินยอมก็ตาม เนื่องจาก'''ไม่อาจคาดหวังความเป็นส่วนตัวอย่างสมเหตุสมผลได้''' อันนี้ไม่อาจห้ามการถ่ายภาพได้ และภาพที่ได้ย่อมเป็นลิขสิทธิ์ของผู้ถ่าย ไม่ใช่ของผู้ถูกถ่ายที่ปรากฏอยู่ในภาพ แต่ถ้าได้ภาพในอิริยาบถที่อาจไม่ดี เมื่อนำไปเผยแพร่ อาจทำให้คนที่เห็นรู้สึกดูหมิ่นดูแคลนเสื่อมเสีย ผู้ที่ถูกถ่าย ก็ย่อมฟ้องด้วยข้อหานี้ได้ การนำสืบก็ต้องว่ากันไปว่าเสียหายอย่างไร จริงหรือไม่ ยิ่งถ้ามีการทำไปด้วยผลประโยชน์ ได้เงิน ต่างๆ คงยิ่งไปกันใหญ่
* '''การถ่ายภาพที่ต้องการเก็บไว้เป็นการส่วนตัว หรือ เก็บไว้ป้องกันภัยคุกคาม''' สามารถกระทำได้ ในสถานที่ๆคุณยืนอยู่นั้น จะต้องเป็น "สาธารณสถาน" หรือสถานที่ของคุณเอง หรือ สถานที่ ที่คุณได้รับอนุญาต ให้เข้าไปได้ โดยการกระทำนั้นจะต้องไม่เป็นการ ละลาบละล้วง ส่วนตัวของบุคคลอื่น เช่น การถ่ายรูปใต้กระโปรง ถือเป็นการละลาบละล้วง เพราะ เค้าได้ทำการปกปิดไว้ดีแล้ว '''จึงสามารถคาดหวังความเป็นส่วนตัวได้อย่างสมเหตุสมผล''' หรือแม้แต่ตามโรงแรมที่ติดตั้งกล้องวงจรปิดที่ '''ไม่ใช่บริเวณสาธารณะหรือทางเดินส่วนรวม''' แต่กลับติดตั้งไว้ในห้องนอนของลูกค้าที่มาใช้บริการเอง '''จึงคาดหวังความเป็นส่วนตัวได้อย่างสมเหตุสมผลเช่นกัน''' ดังนั้นตามกฏหมาย จึงเป็นความผิด ก่อความเดือดร้อนรำคาญ ตามมาตรา 397 ความผิดลหุโทษ มีโทษปรับ ประมาณ 10,000 บาท ส่วนบุคคลที่แต่งตัวโป๊ อยู่แล้ว นอกจากจะมาเอาความผิดคนถ่ายภาพไม่ได้แล้วเนื่องจาก'''ไม่อาจคาดหวังความเป็นส่วนตัวอย่างสมเหตุสมผลได้''' บุคคลที่แต่งตัวโป๊นั้น ยังต้องโดนข้อหาอนาจารตาม มาตรา 388 ความผิดลหุโทษ มีโทษปรับประมาณ 5,000 บาท เสียเองด้วย ซึ่งไทยเองอดีตก็เคยมีข่าวหน้าหนังสือพิมพ์ แต่ภาพที่เอาลงเพื่อเผยแพร์จะต้องเซ็นเซอร์ภาพส่วนที่เป็นอนาจารออก มิเช่นนั้นก็จะมีความผิดทางกฏหมายไทยเช่นกัน
ตัวอย่างการแอบถ่ายไว้ป้องกันตัว เช่น นางสาว A สงสัยว่า นาย B พยายามติดตามตัวเองอยู่ จึงได้ทำการแอบถ่ายภาพ นาย B ไว้เป็นหลักฐาน เป็นต้น
 
'''ตัวอย่างการแอบถ่ายไว้ป้องกันตัว''' เช่น นางสาว A สงสัยว่า นาย B พยายามติดตามตัวเองอยู่ จึงได้ทำการแอบถ่ายภาพ นาย B ไว้เป็นหลักฐาน เป็นต้น
ส่วนคดี เกี่ยวกับ คู่กรณี กระทำผิดต่อตากล้อง เช่น คู่กรณีทำการลบรูปดิจิตอลของตากล้อง แม้ว่าตากล้องจะกู้รูปคืนได้ก็ตาม แต่คู่กรณีจะผิด ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
 
'''ตัวอย่างการแอบถ่ายไว้เป็นหลักฐานและดำเนินคดี''' เช่น นางสาว A เห็น นาย B กำลัง สำเร็จความใคร่ด้วยตัวเองในที่สาธารณสถาน จึงทำการถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐานและส่งสำเนามอบให้ ตำรวจ ดำเนินคดี นาย B ตามมาตรา 388 ความผิดลหุโทษ เป็นต้น
 
'''ส่วนคดี เกี่ยวกับ คู่กรณี กระทำผิดต่อตากล้อง''' เช่น คู่กรณีทำการลบรูปดิจิตอลของตากล้อง แม้ว่าตากล้องจะกู้รูปคืนได้ก็ตาม แต่คู่กรณีจะผิด ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์ มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
 
== รูปแบบพฤติกรรม ==