ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 202:
== ผลสืบเนื่อง ==
การประนีประนอมเป็นสิ่งที่น่าอายอย่างมากสำหรับครุสชอฟและสหภาพโซเวียต เพราะว่าการถอนขีปนาวุธของสหรัฐออกจากตุรกีนั้นไม่ได้เผยแพร่ต่อสาธารณะ—มันเป็นเพียงการตกลงอย่างลับ ๆ ระหว่างครุสชอฟกับเคนเนดีเท่านั้น ชาวรัสเซียมองว่ามันเป็นการถอยออกจากสถานการณ์ที่พวกเขาได้เริ่มเอาไว้—แม้ว่าหากพวกเขาทำตามแผนได้ดี ผลที่ออกมาอาจตรงกันข้าม
การสิ้นสุดอำนาจของครุสชอฟอีก 2 ปีต่อมาสามารถโยงไปถึงความน่าอับอายของคณะกรรมการโพลิทบูโรเพราะการยอมแพ้ต่อสหรัฐของครุสชอฟและการที่เขาไม่มีคุณสมบัติในการรับมือกับวิกฤติได้ทันท่วงที อย่างไรก็ดีวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาไม่ใช้เพียงเหตุผลเดียวที่ทำให้คุรสชอฟสิ้นอำนาจ เหตุผลหลักมากจากนักการเมืองคู่แข่งอย่าง[[ลีโอนิดเลโอนิด เบรสเนฟเบรจเนฟ]]ที่เชื่อว่าครุสชอฟมีอำนาจไม่มากพอที่จะรับมือกับปัญหาข้ามชาติ{{Citation needed|date=August 2007}}.
 
สำหรับคิวบามันคือการหักหลังของโซเวียต ด้วยวิธีการที่โซเวียตตัดสินใจที่จะแก้ไขปัญหานั้นมาจากเคนเนดีและครุสชอฟ สิ่งนี้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างโซเวียตและคิวบาเสื่อมลงในอีกหลายปีต่อมา<ref>Ramonet, Ignacio, ''Fidel Castro: My Life''. Penguin Books: 2007, p. 278. ISBN 978-0-14-102626-8</ref> ในอีกทางหนึ่งคิวบาก็ยังคงได้รับการป้องกันจากการเข้าบุก