ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกียวกูองโฮโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
เพื่อบรรเทาความสับสนที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ในตอนสรุปของพระราชดำรัส ผู้ประกาศวิทยุได้ประกาศอย่างชัดเจนว่าพระราชดำรัสของสมเด็จพระจักรพรรดิหมายความว่าญี่ปุ่นกำลังจะยอมจำนน ตามข้อมูลของนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส โรเบิร์ต กิลเลน ผู้ซึ่งอาศัยอยู่ในโตเกียว ณ ขณะนั้น หลังจากผู้ประกาศได้สรุปพระราชดำรัสแล้ว ชาวญี่ปุ่นจำนวนมากได้กลับไปยังบ้านหรือสำนักงานธุรกิจของตนเองเป็นเวลาหลายชั่วโมงเพื่อที่จะซึมซับและไตร่ตรองความสำคัญของประกาศนั้นอย่างเงียบ ๆ<ref>Guillain, Robert, ''I Saw Tokyo Burning: An Eyewitness Narrative from Pearl Harbor to Hiroshima'', Jove Publications, 1982.</ref>
 
== ใจความสำคัญ ==
== เนื้อหา ==
{{Listen|type=sound|filename=Imperial Rescript on the Termination of the War.ogg|title=เกียวกุอง โฮโซ - การออกอากาศพระราชดำรัสว่าด้วยพระบรมราชวินิจฉัยเกี่ยวกับการสิ้นสุดสงครามของจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ณ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เวลา 12.00 ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น}}
 
บรรทัด 21:
และท้ายที่สุด พระองค์ตรัสถ้อยคำที่มีชื่อเสียงว่า: "แต่ถึงอย่างไรก็ตาม เราจะต้องดำเนินไปตามกระแสแห่งกาลเวลา อดทนในสิ่งที่เหลือจักทานทน ข่มกลั้นในสิ่งที่ยากจักข่มกลั้น เพื่อถากถางปูทางสู่มหาสันติภาพอันจักยั่งยืนสืบไปนับพันปี"
 
=== เนื้อความในพระราชดำรัสโดยละเอียด ===
 
{| class="wikitable"