ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 50:
 
ในการจัดการศึกษาขั้นต้นตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาลสยามในสมัยนั้น พระหฤทัย (บัว) ได้มีนโยบายในการจัดการศึกษาในจังหวัดเพื่อตอบสนองความต้องการของนโยบายรัฐบาลนั้นได้จัดการศึกษาขึ้นที่วัดชัยประสิทธิ์ โดยมอบหมายให้พระครูจรูญ นิโรธกิจ เป็นผู้จัดการเรียนการสอนขึ้น โดยมีนายพรหมมา และนายป้อมเป็นครูผู้สอน ในปี [[พ.ศ. 2442]] ณ ศาลาการเปรียญวัดชัยประสิทธิ์เปิดสอนในประโยค 1 – 2 โดยประโยค 1 มีชั้น ป.1 และ ป.2 ประโยค 2 คือชั้น ป.3 และ ป.4 เมื่อสำเร็จชั้นประโยค 2 ถือว่าสำเร็จชั้นสูงสุดการศึกษาภายในจังหวัดชัยภูมิ ในต้นปี [[พ.ศ. 2445]] ที่มีนักเรียนเป็นจำนวนมากซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นบุตร ธิดาของบรรดาข้าราชการ คหบดี พ่อค้า ประชาชนทั่วไป ในจังหวัดชัยภูมิ ต่อมาในปีกลาง [[พ.ศ. 2445]] โรงเรียนวัดประสิทธิ์มีนักเรียนทั้งบรรพชิต และคฤหัสถ์ศึกษาเล่าเรียนรวมทั้งสิ้น 100 คน มีครูเพียง 1 คน ซึ่งที่นั่งนักเรียนไม่เพียงพอที่จะจัดการเรียนการสอน ผู้รั้งผู้ว่าราชการจังหวัด หลวงพิทักษ์นรากร ได้เห็นถึงปัญหาการขาดแคลนสถานที่จัดการเรียนการสอนและจำนวนครูผู้สอนไม่เพียงพ่อต่อนักเรียนกอปรกับ ในปี [[พ.ศ. 2445]] การปฏิรูปการศึกษาของประเทศนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์” ซึ่งในแง่มุมของการศึกษา ถือเป็นการแบ่งงานระหว่างพระสงฆ์กับกรมศึกษาธิการ โดยพระสงฆ์จะจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา ส่วนในระดับสูงกว่าเป็นหน้าที่ของกรมศึกษาธิการ จึงมีการรวบรวมรายชื่อโรงเรียนเพื่อจัดทำทะเบียนโรงเรียนหลวงขึ้น หลวงพิทักษ์นรากร จึงรวบรวมเงินบริจาคจากข้าราชการในจังหวัดชัยภูมิเพื่อปรับปรุงโรงเรียนเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีผู้บริจาคทั้งสิ้น '''166 บาท 8 อัฐ''' (รายนามผู้บริจาค ดังนี้
<ref group=note> {| class="wikitable"
หลวงพิทักษ์นรากร • ผู้รั้งราชการ • 24 บาท • หลวงภูมิพิทักษ์ • 12 บาท • หลวงไชยภูมิพิพัฒน์ • นายอำเภอเมืองไชยภูมิ • 12 บาท • ขุนอาณัติราษฎร์สำราญ • ปลัดอำเภอ • 12 บาท • ขุนภักดีธนราช • พนักงานคลัง • 4 บาท • นายคำ • พนักงานบาญชี • 2 บาท • นายแดงเล็ก • เสมียนตรี • 2 บาท • ขุนสาธรศุภกิจ • ศุภุมาตรา • 4 บาท • นายแดงใหญ่ • เสมียนตรี • 1 บาท• หลวงการีคะดีรัฐ • ยกระบัตร์ • 20 บาท • ขุนพรหมสุภา • ผู้พิพากษา • 12 บาท • หมื่นอักษรคดีกิจ •1 บาท • หมื่นสฤษดีศุภการ • ยกระบัตรศาล • 1 บาท • ขุนวัจนาธรรมนูญ • แพ่ง • 4 บาท • ขุนวรอักษรเลข • อักษรเลข • 10 บาท • นายภัก • เสมียนฝึกหัด • 1 บาท • หมื่นตระเวนราชกิจ • รองแพ่ง • 2 บาท • นายแก้วเล็ก • คนใช้ • 1 บาท • นายต่วน • เสมียนตรี • 1 บาท • นายน้อย • เสมียนสามัญ • 1 บาท • หลวงอินอาญา • นักการ • 8 อัฐ • หลวงสิทธิ์การภักดี • ปลัดเมือง • 12 บาท • ขุนศรีนิติสาร • สัศดี • 4 บาท • ขุนสง่าบริรักษ์ • จ่าเมือง • 4 บาท • หลวงประกิจสรรพากร • ผู้ช่วย • 10 บาท • หลวงนรินทร์สงคราม • นายอำเภอจัตุรัส • 8 บาท • รวม 166 บาท 8 อัฐ
| หลวงพิทักษ์นรากร || ผู้รั้งราชการ || 24 บาท <br />
|}</ref>)
| หลวงภูมิพิทักษ์ || || 12 บาท <br />
| หลวงไชยภูมิพิพัฒน์ || นายอำเภอเมืองไชยภูมิ || 12 บาท <br />
| ขุนอาณัติราษฎร์สำราญ || ปลัดอำเภอ || 12 บาท <br />
| ขุนภักดีธนราช || พนักงานคลัง || 4 บาท <br />
| นายคำ || พนักงานบาญชี || 2 บาท <br />
| นายแดงเล็ก || เสมียนตรี || 2 บาท <br />
| ขุนสาธรศุภกิจ || ศุภุมาตรา || 4 บาท <br />
| นายแดงใหญ่ || เสมียนตรี || 1 บาท <br />
| หลวงการีคะดีรัฐ || ยกระบัตร์ || 20 บาท <br />
| ขุนพรหมสุภา || ผู้พิพากษา || 12 บาท <br />
| หมื่นอักษรคดีกิจ || || 1 บาท <br />
| หมื่นสฤษดีศุภการ || ยกระบัตรศาล || 1 บาท <br />
| ขุนวัจนาธรรมนูญ || แพ่ง || 4 บาท <br />
| ขุนวรอักษรเลข || อักษรเลข || 10 บาท <br />
| นายภัก || เสมียนฝึกหัด || 1 บาท <br />
| หมื่นตระเวนราชกิจ || รองแพ่ง || 2 บาท <br />
| นายแก้วเล็ก || คนใช้ || 1 บาท <br />
| นายต่วน || เสมียนตรี || 1 บาท <br />
| นายน้อย || เสมียนสามัญ || 1 บาท <br />
| หลวงอินอาญา || นักการ || 8 อัฐ <br />
| หลวงสิทธิ์การภักดี || ปลัดเมือง || 12 บาท <br />
| ขุนศรีนิติสาร || สัศดี || 4 บาท <br />
| ขุนสง่าบริรักษ์ || จ่าเมือง || 4 บาท <br />
| หลวงประกิจสรรพากร || ผู้ช่วย || 10 บาท <br />
| หลวงนรินทร์สงคราม || นายอำเภอจัตุรัส || 8 บาท <br />
| || '''รวม''' || '''166 บาท 8 อัฐ'''
|}</ref>)
 
เงินจำนวน 166 บาท 8 อัฐนี้นับเป็นเงินบำรุงสถานศึกษาชุดแรกที่ก่อให้เกิดการพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาในจังหวัดชัยภูมิโดยเงินจำนวนดังกล่าวได้นำไปจ้างครูเพิ่มอีก 2 คน คนละ 5 บาทต่อเดือนคงเหลือเงิน 22 บาท 08 อัฐ ได้นำไปซื้อม้านั่งสำหรับเรียนตั้งแต่ปี 2442