ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Scdar mu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Scdar mu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ตัวเชื่อมโยงพอลิเมอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:crosslinker)
 
เป็นตัวเชื่อมสายโซ่พอลิเมอร์ ด้วยพันธะโคเวเลนต์ที่เชื่อมระหว่าง 2 สายพอลิเมอร์ ทำให้พอลิเมอร์มีสมบัติเป็นเทอร์มอเซต พอลิเมอร์(thermosetting polymer) ในทางชีววิทยา มีการประยุกต์การเชื่อมโยงข้ามของพอลิอะคริลาไมด์ ([[polyacrylamide]]) ในกระบวนการ [[gel electrophoresis]] และโปรตีน ตัวเชื่อมโยงข้ามขัดขวางการจับตัวกันอย่างหนาแน่นของสายโซ่พอลิเมอร์ และป้องกันการเกิดบริเวณที่จัดเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบ
การเชื่อมโยงข้าม([[cross-linking]]) เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเมอร์กับตัวเชื่อมโยงข้าม(crosslinker) เช่น ในกระบวนการวัลคะไนส์ ([[vulcanization]]) ตัวเชื่อมโยงคือซัลเฟอร์ ([[sulfur]]) ทำปฏิกิยากับพอลิไอโซพรีน ([[polyisoprene]]) ทำให้คุณสมบัติของยางแข็งขึ้น และมีความทนทาน ยางนี้ไปใช้ได้ดีกับรถยนต์และรถจักรยาน
 
[[ภาพ:crosslink.jpg]]
 
 
เส้น 8 ⟶ 10:
*[[สถานะ]]
*[[เจลดูดน้ำ]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://en.wikipedia.org/wiki/Gel, Wikipedia Gel (English)]
*[http://brahms.scs.uiuc.edu/lssrl/chbe424/Software_Homework_Problems/SAP_V14_rev3.swf, Superabsorbent Polymer]
 
 
เส้น 28 ⟶ 34:
[[wuu:高分子化学]]
[[zh:高分子化学]]
 
[[ภาพ:crosslink.jpg]]
<!-- License: Public domain, transcluded from Template:PD-self -->
{| align="CENTER" class="boilerplate" id="pd" style="width:80%; background-color:#f7f8ff; border:2px solid #8888aa; padding:5px;"
| [[Image:PD-icon.svg|64px|Public domain]]
|''ข้าพเจ้า, ในฐานะผู้สร้างผลงานนี้, ขอมอบผลงานนี้ให้เป็น '''[[สาธารณสมบัติ]]''' ประกาศนี้มีผลทั่วโลก''<br />
<small>''ในกรณีที่กฎหมายไม่อนุญาตให้ทำได้''</small><br />
''ข้าพเจ้าอนุญาตให้สิทธิบุคคลใดนำผลงานนี้ไปใช้'''ในทุกจุดประสงค์'''ได้โดยไม่มีเงื่อนไข นอกจากเงื่อนไขนั้นจะถูกบังคับใช้โดยกฎหมาย''
|}<includeonly>[[หมวดหมู่:ภาพมอบให้เป็นสาธารณสมบัติ|{{PAGENAME}}]]</includeonly>